Page 73 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 73
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
เรียบร้อย การสร้างความโปร่งใส และก�าจัดหรือลดการทุจริต ของกลุ่ม D-Move ก้าวที่ดีที่เลือกเดิน พร้อมกับการ
และการใช้อ�านาจโดยมิชอบ โดยยังคงบังคับใช้ประกาศ/ รวมพลคนอยากเลือกตั้ง ซึ่งมีการเดินขบวนยื่นข้อเรียกร้อง
ค�าสั่ง คสช. หรือกฎหมายซึ่งออกตามมาตรา ๔๔ ต่อรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาการเมืองการปกครองเป็น
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) ส�าคัญ
พุทธศักราช ๒๕๕๗ ซึ่งการด�าเนินการในบางกรณี
ส่งผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพบางประการของบุคคล ประเด็นที่สองเป็นการเคลื่อนไหวของกลุ่มประชาชน
สิทธิทางการเมือง สิทธิชุมชน และเสรีภาพสื่อ เพื่อน�าเสนอข้อเรียกร้องในการพัฒนาและการแก้ไข
๗๒
๗๑
๗๐
ในขณะเดียวกัน ในภาคประชาชนมีการเคลื่อนไหว ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตเป็นส�าคัญ อาทิ
เพื่อใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น และเสรีภาพ การเดินมิตรภาพเพื่อติดตามการแก้ไขปัญหาของรัฐบาล
ในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธของภาคประชาสังคม ใน ๕ ประเด็นหลัก การชุมนุมของประชาชน
๗๔
องค์กรชุมชน และภาควิชาการต่าง ๆ โดยมีข้อเรียกร้อง ที่ได้รับผลกระทบจากกรณีโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพา – กระบี่
ต่อรัฐบาล ใน ๓ ประเด็นหลัก ดังนี้ ของเครือข่ายปกป้องสองฝั่งทะเลกระบี่ - เทพา ขบวนการ
ประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม (P-MOVE) และ
ประเด็นแรก เป็นการเรียกร้องให้เร่งรัดติดตามการแก้ไข เครือข่ายปฏิรูปสังคมและการเมือง (คปสม.)
ปัญหาการปฏิรูปโครงสร้างประเทศ และการก�าหนด
วันเลือกตั้ง โดยมีเหตุการณ์หลัก ๆ ได้แก่ การปฏิรูป
ต�ารวจและกระบวนการยุติธรรม และการสร้างความปรองดอง
ในหมู่ประชาชน ทั้งนี้ ภายหลังจากที่ประชุม
๗๓
สนช. ได้ให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
พ.ศ. .... รอบแรกเมื่อวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๖๑
ซึ่งก�าหนดให้กฎหมายดังกล่าวมีผลใช้บังคับเมื่อพ้น ๙๐
วันนับจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ส่งผลให้
การเลือกตั้งต้องเลื่อนออกไปอีก ๓ เดือนจากเดิมที่คาดว่า
จะสามารถจัดการเลือกตั้งได้ในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๑
ท�าให้มีการเคลื่อนไหวของกลุ่มประชาชนเพื่อเรียกร้อง
การจัดการเลือกตั้ง อาทิ กลุ่มฟื้นฟูประชาธิปไตย
และกิจกรรมรวมพลคนอยากเลือกตั้ง ตั้งแต่วันที่ ๒๗
มกราคม ๒๕๖๑ เป็นต้นมา และในช่วงระหว่างวันที่
๑๙ – ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๑ มีกิจกรรมทางวิชาการ
๗๐ อาทิ ค�าสั่งหัวหน้า คสช. ฉบับที่ ๓/๒๕๕๘ ซึ่งก�าหนดให้การชุมนุมทางการเมือง ๕ คนขึ้นไปเป็นความผิด ค�าสั่งหัวหน้า คสช. ฉบับที่ ๑๓/๒๕๕๙ เกี่ยวกับมาตรการเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการป้องกันและปราบปรามการกระท�าความผิดทางอาญา และฉบับที่ ๕/๒๕๖๐ เกี่ยวกับการก�าหนดพื้นที่ควบคุมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมาย
ซึ่งค�าสั่งบางฉบับให้อ�านาจเจ้าหน้าที่เรียกบุคคลที่สงสัยว่ากระท�าความผิดไปสอบถามข้อมูลและอาจควบคุมตัวได้ไม่เกิน ๗ วัน หากการสอบถามไม่แล้วเสร็จ และการยกเว้น
การกระท�าตามค�าสั่งไม่ให้อยู่ในบังคับของกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองและกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง.
๗๑ อาทิ ค�าสั่ง คสช. ฉบับที่ ๖๔/๒๕๕๗ และฉบับที่ ๖๖/๒๕๕๗ เรื่องการทวงคืนผืนป่า และค�าสั่งหัวหน้า คสช. ฉบับที่ ๓/๒๕๕๙ และ ๔/๒๕๕๙ ก�าหนดให้ยกเว้นการบังคับใช้
กฎหมายผังเมืองและกฎหมายควบคุมอาคารในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ และค�าสั่งหัวหน้า คสช. ฉบับที่ ๙/๒๕๕๙ ก�าหนดให้หน่วยงานรัฐหาเอกชนผู้รับเหมาโครงการหรือกิจการ
บางประเภทไปพลางก่อนผ่านรายงานประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม (EIA) ได้.
๗๒ อาทิ ประกาศ คสช. ฉบับที่ ๙๗/๒๕๕๗ และฉบับที่ ๑๐๓/๒๕๕๗ ซึ่งก�าหนดห้ามสื่อรายงานข้อมูลที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง และต้องเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารตามที่ได้รับแจ้งจาก คสช.
๗๓ ค�าแถลงคณะกรรมการญาติวีรชนพฤษภา ๒๕๓๕ ต่อรัฐบาลและสาธารณชน วันที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๖๑.
๗๔ โดยกลุ่ม People Go Network ซึ่งเป็นการรวมตัวกันของภาคประชาชนใน ๔ เครือข่าย ได้แก่ เครือข่ายรัฐสวัสดิการ เครือข่ายสลัมสี่ภาค เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก
และเครือข่ายสุขภาพ โดยมีข้อเสนอ ๕ ด้าน คือ (๑) หลักประกันสุขภาพ ที่จะสามารถดูแลทุกคนในประเทศ (๒) นโยบายที่ไม่ท�าลายความมั่นคงทางอาหาร (๓) กฎหมายที่ไม่ลดทอนสิทธิมนุษยชน
สิทธิชุมชน ดูแลให้เกิดการจัดสรรทรัพยากรอย่างเหมาะสม (๔) นโยบายที่ช่วยดูแลและรักษาสิ่งแวดล้อม และ (๕) รัฐธรรมนูญ กฎหมายสูงสุดที่ก�าหนดชีวิตในฐานะพลเมือง.
72