Page 75 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 75

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          ของนายสุลักษณ์ ศิวรักษ์ อย่างไรก็ตาม ในกรณีหลัง     การสลายการชุมนุมโดยไม่มีความรุนแรง และมีการแจ้งความ
          อัยการศาลทหารได้สั่งไม่ฟ้องเนื่องด้วยพยานหลักฐาน    ด�าเนินคดีกับผู้แทน ผู้เข้าร่วม และคณะผู้ประสานงาน
          ไม่เพียงพอ ๗๘                                       จ�านวน ๘ คน ในข้อหาขัดค�าสั่ง คสช. ที่ ๓/๒๕๕๘ และ
                                                              ต่อมา ศาลปกครองกลางได้มีค�าสั่งเกี่ยวกับวิธีการชั่วคราว

          ส�าหรับผลกระทบต่อเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบ           ก่อนการพิพากษาคดีหมายเลขด�าที่ ๑๕๔/๒๕๖๑ ลงวันที่
          และปราศจากอาวุธ  มีกรณีเช่น  การใช้ดุลพินิจของ      ๒๖ มกราคม ๒๕๖๑ โดยเป็นการคุ้มครองชั่วคราว ท�าให้
          เจ้าหน้าที่ต�ารวจในฐานะเจ้าพนักงานตามพระราชบัญญัติ  กิจกรรมดังกล่าวสามารถด�าเนินการได้จนแล้วเสร็จ ๘๐
          การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๘ ตอบกลับหนังสือ

          ของผู้จัดงานกิจกรรม  “We  Walk…เดินมิตรภาพ”         ในการรณรงค์และสร้างการตระหนักรู้ผ่านกิจกรรม
          แจ้งการชุมนุมตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ       “นัดรวมพลประชาชนอยากเลือกตั้ง” ซึ่งจัดขึ้นครั้งแรก
          พ.ศ. ๒๕๕๘ ไปยังเจ้าหน้าที่ต�ารวจสถานีต�ารวจภูธรอ�าเภอ   เมื่อวันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๑ ณ สกายวอล์ก ปทุมวัน
          คลองหลวง อันเป็นจุดเริ่มต้นของกิจกรรมในวันที่ ๑๗    มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๓๙ คนถูกหมายเรียกจากส�านักงานต�ารวจ

          มกราคม ๒๕๖๑ โดยระบุว่า “กิจกรรมมีพฤติการณ์          แห่งชาติให้ไปรับทราบข้อกล่าว ณ สถานีต�ารวจนครบาล
          จ�าหน่ายเสื้อยืดซึ่งมีข้อความสื่อความหมายในทางการเมือง    ปทุมวัน  ส�านักงาน  กสม.  ได้เข้าร่วมสังเกตการณ์
          และการชักชวนให้ประชาชนทั่วไปร่วมลงลายมือชื่อ        การแจ้งข้อกล่าวหาและพบว่า การด�าเนินการเป็นการมา
          ยกเลิกกฎหมาย  ซึ่งไม่ใช่การชุมนุมสาธารณะ            รับทราบข้อกล่าวหาตามหมายเรียก มิได้มีการจับกุม

          ที่เจ้าหน้าที่ต�ารวจมีอ�านาจดูแล แต่เป็นการมั่วสุมหรือชุมนุม  ควบคุมตัว โดยเจ้าหน้าที่ตั้งข้อหาฝ่าฝืนพระราชบัญญัติ
          การเมืองตามข้อ ๑๒ ของค�าสั่งหัวหน้า คสช.ที่ ๓/๒๕๕๘    การชุมนุมสาธารณะโดยร่วมกันชุมนุมในที่สาธารณะ
          ซึ่งหากฝ่าฝืนต้องรับโทษจ�าคุกไม่เกินหกเดือน ปรับไม่เกิน   ในรัศมี ๑๕๐ เมตรจากเขตพระราชฐาน และขัดค�าสั่ง
          หนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจ�าทั้งปรับ”  ทั้งนี้ ภายหลังจาก   หัวหน้า คสช.ที่ ๓/๒๕๕๘ ทั้งนี้ ผู้ต้องหาจ�านวน ๒๘
                                       ๗๙
          การยืนยันการด�าเนินกิจกรรมดังกล่าว ได้มีการสกัดกั้นและ   คนเดินทางไปศาลแขวงปทุมวัน พนักงานสอบสวนได้มา
                                                              ขอผัดฟ้องที่ศาลแขวงปทุุมวันเป็นเวลา ๖ วัน โดยศาล
                                                              อนุญาตให้ผัดฟ้องและไม่มีการฝากขัง และให้ผู้ต้องหา
                                                              กลับบ้านได้โดยให้รอติดต่อกลับไปเมื่อมีการส่งฟ้องต่อ

                                                              อัยการภายใน ๓๐ วันตามกรอบของคดีที่ขึ้นศาลแขวง
                                                              และไม่มีเงื่อนไขการปล่อยตัวใด  ๆ  ส่วนอีก  ๕  คน
                                                              ที่ถูกแจ้งข้อหาตามมาตรา ๑๑๖ ของประมวลกฎหมายอาญา
                                                              ได้เดินทางไปที่ศาลอาญากรุงเทพใต้ เนื่องจากเป็นข้อหา

                                                              ที่มีอัตราโทษสูงกว่า ๓ ปี และต่อมา ศาลได้ยกค�าร้อง
                                                              ที่ให้มีการฝากขังเช่นกัน ๘๑


          ๗๘  ตามข้อหาความผิด ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๒ เมื่อครั้งเป็นวิทยากรในงานเสวนา “ประวัติศาสตร์ว่าด้วยการช�าระและการสร้าง” จัดโดยกลุ่มสภาหน้าโดม เมื่อวันที่
          ๕ ตุลาคม ๒๕๕๗ ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ต่อมา ในวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๑ อัยการศาลทหารสั่งไม่ฟ้องเนื่องด้วยพยานหลักฐานไม่พอฟ้อง ทั้งในข้อหาความผิด
          ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๒ และจากการน�าข้อมูลอันเป็นเท็จเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ตามพระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์.
          ๗๙  การสังเกตการณ์ของส�านักงาน กสม. และแถลงการณ์ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน มูลนิธินิติธรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน มูลนิธิศูนย์ข้อมูลชุมชน
          และมูลนิธิผสานวัฒนธรรม.
          ๘๐  ศาลปกครองกลางมีค�าสั่งเกี่ยวกับวิธีการชั่วคราวก่อนการพิพากษา คดีหมายเลขด�าที่ ๑๕๕/๒๕๖๑ วันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๖๑ โดยสรุปว่า (๑) ให้ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ โดยผู้บัญชาการ
          ต�ารวจแห่งชาติสั่งการให้เจ้าหน้าที่ต�ารวจที่มีฐานะเป็นเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ มิให้กระท�าการใด ๆ ที่มีลักษณะเป็นการปิดกั้น ขัดขวางในการใช้เสรีภาพการชุมนุม
          ของผู้ฟ้องคดีทั้ง ๔ และผู้ร่วมชุมนุมภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย และ (๒) ให้เจ้าหน้าที่ต�ารวจใช้อ�านาจหน้าที่ตามมาตรา ๑๙ วรรค ๔ แห่งพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะฯ เพื่อประโยชน์
          ในการคุ้มครองความสะดวกของประชาชน การดูแลการชุมนุมสาธารณะ และการรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน โดยเคร่งครัดจนถึงวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์
          ๒๕๖๑ แต่หากข้อเท็จจริงปรากฏว่าผู้ฟ้องคดีทั้ง ๔ และผู้ร่วมชุมนุมกระท�าการใดอันท�าให้เป็นการชุมนุมสาธารณะที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะหรือ
          เจ้าพนักงานต�ารวจในบังคับบัญชาของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ ก็ชอบที่จะพิจารณาก�าหนดเงื่อนไขหรือมีค�าสั่งหรือประกาศให้ผู้ชุมนุมเลิกการชุมนุม หรือแก้ไข หรือร้องขอต่อศาลให้มีค�าสั่ง
          ให้เลิกการชุมนุม หรือด�าเนินการอื่นใดตามอ�านาจหน้าที่เพื่อบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการชุมนุมสาธารณะหรือกฎหมายอื่นได้.
          ๘๑  จาก บันทึกการสังเกตการณ์การแจ้งข้อกล่าวหา และการรายงานตัวเพื่อรับทราบข้อกล่าวหาของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๓๙ คน นัดรวมพลประชาชนอยากเลือกตั้ง เมื่อวันที่ ๒๗
          มกราคม ๒๕๖๑, วันที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑. โดย ส�านักงาน กสม. .


       74
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80