Page 54 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 54

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย รวมตัวกันที่บริเวณ      และการลดฐานความผิดที่มีอัตราโทษประหารชีวิต รวมทั้ง
            หน้าเรือนจ�ากลางบางขวาง โดยสวมหน้ากากและชูป้าย      เสนอแนะมาตรการอื่นที่เหมาะสมมารองรับ เพื่อเป็น
            เพื่อแสดงจุดยืนไม่เห็นด้วยกับโทษประหารชีวิต โดยเห็นว่า    ข้อมูลทางวิชาการประกอบการด�าเนินงานตามแนวทาง
            เป็นความถดถอยครั้งส�าคัญของประเทศไทย                รณรงค์เปลี่ยนแปลงโทษประหารชีวิต โดยได้จัดรับฟัง

            ในการยกเลิกโทษประหารชีวิต  อย่างไรก็ตาม ศูนย์ส�ารวจ   ความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิและหน่วยงานต่าง  ๆ
                                     ๑๗
            ความคิดเห็น “นิด้าโพล” เปิดเผยผลส�ารวจความคิดเห็น   เมื่อวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๖๑ ๑๙
            ของประชาชน  เรื่อง “โทษประหารชีวิต ควรหยุดหรือ
            ไปต่อ” ท�าการส�ารวจระหว่างวันที่ ๒๑ – ๒๒ มิถุนายน   ๓. ความเชื่อมั่นของประชาชนที่มีต่อกระบวนการ         บทที่ ๒

            ๒๕๖๑  จากการส�ารวจ  พบว่า  ประชาชนส่วนใหญ่          ยุติธรรม
            ร้อยละ ๘๐.๕๐ เห็นว่า บทลงโทษที่ผู้กระท�าความผิด     ในช่วงเวลาที่ผ่านมาได้มีเหตุการณ์ที่สะท้อน
            ในคดีร้ายแรงควรได้รับคือโทษประหารชีวิต ๑๘           ความเชื่อมั่นของประชาชนต่อกระบวนการยุติธรรม เช่น
                                                                กรณีการส�ารวจความคิดเห็นกรุงเทพโพลล์ (ศูนย์วิจัย

            แม้ว่าจะมีการบังคับใช้โทษประหารชีวิต และในสังคม     มหาวิทยาลัยกรุงเทพ) พบว่า ร้อยละ ๗๑.๗ เชื่อมั่น
            มีความเห็นที่แตกต่างในประเด็นนี้ทั้งฝ่ายที่คัดค้านและ  ต่อกระบวนการยุติธรรมในการน�าผู้กระท�าความผิด
            ฝ่ายที่สนับสนุนโทษประหารชีวิต แต่กรมคุ้มครองสิทธิ   มาด�าเนินคดีค่อนข้างน้อยถึงน้อยที่สุด และร้อยละ ๖๔.๒
            และเสรีภาพยังคงด�าเนินการศึกษาแนวทางต่าง  ๆ         เห็นว่าคดีเสือด�าจะไม่สามารถน�าผู้กระท�าความผิด

            เพื่อลดการใช้โทษประหารชีวิต เช่น การปรับแก้ฐาน      มาลงโทษได้  หรือกรณีที่มีการกระโดดตึกที่ศาลอาญา
                                                                          ๒๐
            ความผิดที่มีอัตราโทษประหารชีวิตสถานเดียวให้มี       อาจเกิดจากความรู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมหลังจาก
            โทษจ�าคุกตลอดชีวิตเพิ่มเติมเพื่อให้ศาลมีทางเลือก    ศาลชั้นต้นตัดสินยกฟ้องจ�าเลยในคดีฆาตกรรมบุตรชาย     การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
                                                                                                             ๒๑
            ในการลงโทษลักษณะอื่นที่ไม่ใช่การประหารชีวิต         หรือกรณีหญิงสาวที่ตกรถเสียชีวิตโดยญาติสงสัยการเสียชีวิต



































            ๑๗  จาก กลุ่มแอมเนสตี้ (Amnesty) ประเทศไทย มาประท้วงสวมหน้ากากชูป้ายหน้าเรือนจ�าบางขวางแสดงจุดยืนไม่เห็นด้วยกับค�าสั่งโทษประหารชีวิตในรอบ 9 ปี, โดย ทอล์ค
            นิวส์ออนไลน์, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://www.talknewsonline.com/?p=30861
            ๑๘  จาก สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า), โดย ไทยโพสต์, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://www.thaipost.net/main/detail/11980
            ๑๙  จาก กรมคุ้มครองสิทธิฯ พิจารณาผลการศึกษาการเพิ่มดุลพินิจให้กับศาลในฐานความผิด อัตราโทษประหารชีวิตสถานเดียว หรือลดฐานความผิดที่มีอัตราโทษประหารชีวิต,
            โดย กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://www.rlpd.go.th/rlpdnew/2012-06-20-06-21-44/rlpd-pr/9377-447-2561
            ๒๐  จาก กรุงเทพโพลล์ เผย 71.7% ไม่ค่อยเชื่อมั่นกระบวนการยุติธรรม ส่วนใหญ่เชื่อลงโทษ ‘เปรมชัย’ ล่าเสือด�าไม่ได้, โดย กรุงเทพโพลล์ (ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ), ๒๕๖๑.
            สืบค้นจาก https://thestandard.co/bangkokpoll-71-7-percent-do-not-believe-in-justice/
            ๒๑  จาก คดีพ่อเครียดโดดศาล เตรียมเรียกดูส�านวนฆ่าลูกชาย หลังพบวงจรปิดเสีย, โดย ไทยรัฐทีวี, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/content/1340110
                                                                                                               53
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59