Page 53 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 53

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          ในการปล่อยชั่วคราว อย่างไรก็ตาม กสม. มีข้อสังเกต    ๑.๓ รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
          ถึงความเหมาะสมของหลักเกณฑ์ดังกล่าวซึ่งปรากฏ         ที่ ๑๒๒/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๖๑ เกี่ยวกับ
          อยู่ในระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุนยุติธรรม         การลงโทษผู้ต้องขังที่ฝ่าฝืนค�าสั่งฝึกวินัยโดยการใช้ก�าลัง
          ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการสนับสนุน   กับผู้ต้องขังจนได้รับบาดเจ็บรุนแรง ซึ่ง กสม. เห็นว่า

          หลักทรัพย์เป็นหลักประกันในการปล่อยชั่วคราว          เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน และได้มีข้อเสนอแนะ
          พ.ศ. ๒๕๕๔ ที่ก�าหนดให้คณะกรรมการบริหารกองทุน        ต่อกรมราชทัณฑ์ให้พิจารณาเยียวยาโดยให้การรักษา
          ยุติธรรม คณะอนุกรรมการ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย      พยาบาลและชดเชยความเสียหายให้แก่ผู้ร้องอย่างเหมาะสม
          สามารถที่จะใช้ดุลพินิจว่าผู้ยื่นค�าขอปล่อยชั่วคราว   และควรก�าชับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์

          เป็นผู้ที่น่าจะกระท�าความผิดตามที่ถูกกล่าวหาหรือไม่   ให้เป็นไปตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด  โดยให้ความ
          การก�าหนดเช่นนี้ถือว่าเป็นการวินิจฉัยความผิดของผู้ยื่น  เคารพต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และสิทธิของ
          ค�าขอรับความช่วยเหลือล่วงหน้าแทนศาล เป็นอุปสรรค     ผู้ต้องขัง โดยเฉพาะสิทธิในชีวิตและร่างกายซึ่งเป็นสิทธิ
          ต่อการเข้าถึงความช่วยเหลือของประชาชนในการต่อสู้คดี   ขั้นพื้นฐานที่มิอาจล่วงละเมิดได้ และลงโทษผู้ฝ่าฝืน

          เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ และไม่สอดคล้องกับหลักการ     ตามระเบียบหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
          สันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ แม้ว่าระเบียบคณะกรรมการ
          บริหารกองทุนยุติธรรมว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และ    ๒. โทษประหารชีวิต
          เงื่อนไขในการสนับสนุนหลักทรัพย์เป็นหลักประกัน       เมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๖๑ กรมราชทัณฑ์ได้ด�าเนินการ

          ในการปล่อยชั่วคราว พ.ศ. ๒๕๕๔ จะสิ้นผลบังคับไปแล้ว    บังคับโทษตามค�าพิพากษาของศาลด้วยการประหารชีวิต
          แต่ตามระเบียบคณะกรรมการกองทุนยุติธรรมว่าด้วย        นักโทษเด็ดขาดชายในคดีฆ่าผู้อื่นอย่างทารุณโหดร้าย
          หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการสนับสนุนหลักทรัพย์   เพื่อชิงทรัพย์  โดยหวังว่าจะเป็นอุทาหรณ์ให้ผู้ที่คิด
          เป็นหลักประกันในการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือ       จะก่ออาชญากรรมร้ายแรง หรือกระท�าผิดกฎหมายได้ยั้งคิด

          จ�าเลย  พ.ศ.  ๒๕๕๙  กลับยังคงก�าหนดหลักเกณฑ์        ถึงบทลงโทษนี้  ต่อมาเมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๖๑
                                                                          ๑๖
          การพิจารณาในลักษณะเช่นเดียวกันอยู่                  ได้มีกลุ่มนักกิจกรรมและอาสาสมัครของแอมเนสตี้





































          ๑๖  จาก มิให้เป็นเยี่ยงอย่าง ราชทัณฑ์ประหาร นักโทษคดีฆ่าโหดชิงทรัพย์ 1 ราย, โดย ไทยรัฐ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/content/1311362


       52
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58