Page 51 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 51

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          การให้ความช่วยเหลือตามพระราชบัญญัติกองทุน           เพื่อยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่บุคคลธรรมดาและ
          ยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘                                  บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลส�าหรับการบริจาคเงิน
          พระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม  พ.ศ.  ๒๕๕๘             หรือทรัพย์สินให้แก่กองทุนยุติธรรม เพื่อเป็นการจูงใจ
          มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือประชาชน          ให้มีการบริจาคเงินหรือทรัพย์สินให้แก่กองทุนยุติธรรม

          ในการด�าเนินคดี การขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ�าเลย    เพื่อน�าไปช่วยเหลือประชาชนให้เข้าถึงกระบวนการ
          การช่วยเหลือผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน  และการให้     ยุติธรรมได้อย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกันมากขึ้น
          ความรู้ทางกฎหมายแก่ประชาชน ระหว่างปีงบประมาณ
          พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๑ ได้มีการให้ความช่วยเหลือจาก        อนึ่ง พบว่า มีประเด็นที่น่าห่วงใย ดังนี้

          กองทุนยุติธรรมเป็นเงินทั้งสิ้น ๔๐๒,๒๖๓,๑๗๕.๒๐ บาท
          โดยเป็นค่าใช้จ่ายในการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหา        ๑. เรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับสิทธิในกระบวนการ
          หรือจ�าเลย จ�านวน ๓๕๔,๖๖๔,๙๓๑ บาท ค่าใช้จ่าย        ยุติธรรม
          ในการด�าเนินคดี (ค่าทนายความ ค่าธรรมเนียมศาล        ในปี  ๒๕๖๑  กสม.  ได้รับค�าร้องขอให้ตรวจสอบ

          ค่าใช้จ่ายอื่นในการด�าเนินคดีเกี่ยวกับการพิสูจน์    การละเมิดสิทธิมนุษยชน จ�านวนทั้งสิ้น ๑๘๓ ค�าร้อง
                                                                                                           ๑๓
          ค่าพาหนะเดินทาง เป็นต้น) จ�านวน ๔๗,๑๓๔,๕๔๔.๒๐ บาท    เมื่อจ�าแนกค�าร้องตามประเภทของสิทธิที่เกี่ยวข้องแล้ว
          ค่าใช้จ่ายในการให้ความรู้ทางกฎหมาย จ�านวน ๔๔๙,๖๐๐ บาท    พบว่า มีค�าร้องที่ผู้ร้องอ้างว่าถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
          และค่าช่วยเหลือผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน             เกี่ยวกับสิทธิในกระบวนการยุติธรรมจ�านวน ๑๐๒ ค�าร้อง ๑๔

          จ�านวน ๑๔,๑๐๐ บาท   ๑๑                              และในปี ๒๕๖๑ กสม. ได้มีข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
                                                              ที่ส�าคัญเกี่ยวกับสิทธิในกระบวนการยุติธรรมในรายงาน
          หน่วยงานรัฐได้ด�าเนินการติดตามและพัฒนา              ผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ดังนี้
          การด�าเนินการตามพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม

          พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่อให้ประชาชนได้รับความช่วยเหลือ
          ได้สะดวก รวดเร็ว และทั่วถึง เช่น คณะกรรมาธิการ
          การกฎหมาย กระบวนการยุติธรรมและกิจการต�ารวจ สนช.
          ได้จัดสัมมนา เรื่อง ประชาชนจะได้รับความช่วยเหลือ

          จากกองทุนยุติธรรมอย่างไร เพื่อรับฟังความคิดเห็น
          ของประชาชน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทาง
          ในการพัฒนาและปรับปรุงการด�าเนินงานให้เกิด
          ประสิทธิภาพ และส�านักงานกิจการยุติธรรมได้ศึกษาวิจัย

          การติดตามและประเมินผลการบังคับใช้พระราชบัญญัติ
          กองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘ ผ่านเครื่องมือการประเมิน
          ผลการบังคับใช้กฎหมาย  นอกจากนี้  ได้มีการตรา
          พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร

          ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ๖๕๑) พ.ศ. ๒๕๖๑ ๑๒



          ๑๑  จาก หนังสือส�านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ด่วนที่สุดที่ ยธ ๐๒๑๐๖/๒๙๖๔ ลงวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๖๑ เรื่อง ขอจัดส่งข้อมูลเพื่อประกอบการจัดท�ารายงานผลการประเมิน
          สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๑.
          ๑๒  จาก พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ๖๕๑) พ.ศ. ๒๕๖๑. (๒๕๖๑, ๒๖ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา, ๑๓๕ (ตอน ๔ก), ๗ – ๙.
          ๑๓  จาก จ�านวนเรื่องร้องเรียนจ�าแนกตามประเภทสิทธิ ระหว่างวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๑ – ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๑, โดย ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ๒๕๖๑.
          สืบค้นจาก http://hris.nhrc.or.th/nhrc2015/CreateComplaint/Report_Statistic1_5.aspx#/
          ๑๔  ค�าร้องที่เกี่ยวข้องกับสิทธิในกระบวนการยุติธรรม จ�านวน ๑๐๒ ค�าร้อง แบ่งเป็นค�าร้องเกี่ยวกับสิทธิในกระบวนการยุติธรรม (สิทธิของผู้ต้องหาและสิทธิของผู้ต้องขัง) จ�านวน
          ๓๓ ค�าร้อง และเป็นค�าร้องเรียนเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคล (สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกายอันเกี่ยวเนื่องกับสิทธิในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งเรื่องร้องเรียนส่วนใหญ่
          เป็นกรณีกล่าวอ้างว่าถูกเจ้าหน้าที่รัฐท�าร้ายร่างกายในระหว่างการควบคุมตัว) จ�านวน ๖๙ ค�าร้อง.


       50
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56