Page 17 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 17
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
แผนและผลการด�เนินการจัดท�รายงาน
ผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน
ของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
ระยะเวลา ขั้นตอนหลัก กระบวนการ
ธ.ค. ๒๕๖๐ – ม.ค. ๒๕๖๑ ขั้นที่ ๑ การวางแผน • การประมวลสถานการณ์ที่ผ่านมา และจัดท�าข้อมูลเบื้องต้น พร้อมน�าเสนอ
ขั้นที่ ๒ การออกแบบ ประเด็นหลักที่จะติดตาม
• การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการออกแบบค�าถาม
ก.พ. – ธ.ค. ๒๕๖๑ ขั้นที่ ๓ • การประชุมภายในส�านักงาน กสม.
การเก็บข้อมูล/ • การเก็บข้อมูลจากแหล่งเปิด อาทิ สื่อ และช่องทางการสื่อสาร online
ตรวจสอบ ของคณะท�างาน พร้อมสอบทานข้อมูล
• การประสานขอข้อมูลจากหน่วยงานของรัฐ
• การประชุม/การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสัมภาษณ์เฉพาะกลุ่ม
กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
• การบันทึกข้อมูลเข้าระบบฐานข้อมูล
ขั้นที่ ๔ • การเปรียบเทียบ/ตรวจสอบมาตรฐานสิทธิมนุษยชนตาม (๑) สนธิสัญญา
การติดตาม/วิเคราะห์ หลักด้านสิทธิมนุษยชน และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
(๒) หลักตัวชี้วัด (สิทธิแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด) และหลักเกณฑ์ (สิทธิที่ด�าเนินการ
แบบค่อยเป็นค่อยไป) (๓) ข้อสังเกตสรุปรวม (Concluding Observations)
ของกลไกประจ�าสนธิสัญญาหลักด้านสิทธิมนุษยชน รวมถึงค�าปฏิญาณ
และการตอบรับของรัฐบาลต่อกระบวนการ UPR
• การตรวจสอบการเปลี่ยนแปลง (ก้าวหน้า/ถดถอย) ของประเด็นนั้น ๆ
จากปีที่ผ่านมา
ก.ย. – ธ.ค. ๒๕๖๑ ขั้นที่ ๕ • การจัดท�าเค้าโครงการน�าเสนอ พร้อมหารือกับคณะที่ปรึกษา
การจัดท�ารายงาน • การจัดท�ารายงานตามประเด็น กลุ่มประเด็น และในภาพรวมของรายงาน
ทั้งฉบับ รวมถึงการบรรณาธิการต่าง ๆ
• การรับฟังความเห็น/ข้อมูลต่าง ๆ จากส่วนที่เกี่ยวข้อง
• การน�าเสนอร่างรายงานต่อที่ประชุม กสม. บริหาร (เพื่อรับฟังความคิดเห็น
และเพื่อการรับรอง)
ธ.ค. ๒๕๖๑ – มี.ค. ๒๕๖๒ ขั้นที่ ๖ การเสนอ • การจัดพิมพ์ และจัดส่งรายงานให้กับรัฐสภา และคณะรัฐมนตรี
รายงานต่อรัฐสภา พร้อมเผยแพร่ให้ประชาชนทราบเป็นการทั่วไป ไม่เกิน ๙๐ วัน นับจาก
และคณะรัฐมนตรี วันสิ้นปี ๒๕๖๑
พร้อมเผยแพร่
ต่อสาธารณชน
ก.พ. ๒๕๖๒ เป็นต้นไป ขั้นที่ ๗ • การน�าเสนอและรับฟังความเห็นของรัฐสภาและคณะรัฐมนตรีต่อรายงานฯ
การสื่อสาร/การสร้าง • การประชุม/น�าเสนอเนื้อหารายงานฯ กับภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
การเปลี่ยนแปลง • การติดตามการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะ
• การประมวลสถานการณ์ และจัดท�าข้อมูลเบื้องต้นพร้อมน�าเสนอประเด็น
หลักที่จะติดตามในปี ๒๕๖๒
• การจัดท�าและเสนอแผนด�าเนินการจัดท�ารายงานฯ ปี ๒๕๖๒
16