Page 164 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 164
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
ในการส่งตัวเข้าควบคุม ควรให้มีการตรวจร่างกายตั้งแต่ ๓. ด้านสิทธิในชีวิตและร่างกายของสตรีและเด็ก จาก
วันแรกโดยแพทย์ของโรงพยาบาลทุกครั้ง และให้การดูแล สถานการณ์การก่อเหตุในพื้นที่สาธารณะและผู้ที่ได้รับ
รักษาอย่างเหมาะสมหากผู้ถูกควบคุมได้รับบาดเจ็บ ผลกระทบส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเป้าหมายที่มีความเปราะบาง
รวมถึงบางกรณีน่าจะมีการมุ่งก่อเหตุกับกลุ่มเป้าหมาย
การให้โอกาสติดต่อเยี่ยมญาติอย่างอิสระตั้งแต่เริ่มจน ดังกล่าวเป็นการเฉพาะ รัฐจึงควรเพิ่มมาตรการคุ้มครอง
สิ้นสุดการควบคุมตัวเพื่อลดความกังวลของญาติ และ ความปลอดภัยให้แก่ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะ
สร้างความตระหนักของเจ้าหน้าที่ให้ปฏิบัติต่อผู้ถูกควบคุมตัว กลุ่มเด็ก เยาวชน และสตรี เพื่อเรียกความเชื่อมั่นและ
บนหลักการของกฎหมายและเคารพต่อสิทธิมนุษยชนของ สร้างพื้นที่ปลอดภัยให้เกิดขึ้น รวมถึงการพิจารณาเยียวยา
ผู้ถูกควบคุมตัว ซึ่งต้องถูกสันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ตราบใดที่ ความเสียหายให้แก่ผู้สูญเสียอย่างเหมาะสมและเป็นธรรม ๓๑๐
ศาลยังไม่มีค�าพิพากษาถึงที่สุดว่าเป็นผู้กระท�าความผิด ๓๐๗
๔. ด้านภาวะทุพโภชนาการและการได้รับวัคซีนของเด็ก
การด�าเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงและการด�าเนินการ ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ รัฐควรสนับสนุนให้เด็กได้รับ
ทางวินัยกับเจ้าหน้าที่รัฐที่ถูกกล่าวหาว่ากระท�าการละเมิด อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและเหมาะสมกับช่วงวัย
สิทธิมนุษยชน และหน่วยบังคับบัญชาที่มิได้ควบคุม รวมถึงการสร้างความเข้าใจให้แก่พ่อแม่ ผู้ปกครอง และ
การปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่ก�าหนด ผู้ดูแลเด็กในเรื่องของโภชนาการที่เด็กควรได้รับ ผลเสียของ
รวมถึงการให้เจ้าหน้าที่ในสังกัดปฏิบัติหน้าที่โดยค�านึงถึง การได้รับโภชนาการที่ไม่ครบถ้วนและไม่มีคุณภาพ
หลักสิทธิมนุษยชนอย่างเคร่งครัด ตลอดจนการติดตามภาวะโภชนาการของเด็กอย่างสม�่าเสมอ ๓๑๑
๓๐๘
ทั้งนี้ โดยค�านึงถึงความเหมาะสมตามวิถีและบริบท
การก�าชับการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามแนวทาง ของสังคมในพื้นที่ด้วย
ปฏิบัติในการจับกุมและควบคุมตัวบุคคล และควร บทที่ ๕
มีการตรวจสอบการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ต่อบุคคลที่ถูกจับหรือ ๕. ด้านการเข้าถึงความยุติธรรมของสตรีในพื้นที่จังหวัด
ถูกควบคุมตัวเพื่อป้องกันมิให้มีการทรมานใด ๆ เกิดขึ้น ๓๐๙ ชายแดนภาคใต้ คณะกรรมการอิสลามระดับชุมชนและ
จังหวัดควรมีกระบวนการสอบสวนกรณีการล่วงละเมิด
ทางเพศหรือการใช้ความรุนแรงต่อผู้หญิงที่ค�านึงถึง
ความละเอียดอ่อนทางเพศสภาพ ไม่กระท�าการใด ๆ ที่เป็น
การละเมิดซ�้า และควรมีการประสานการท�างานกับ
ทีมสหวิชาชีพ รวมถึงควรมีการจัดท�าแนวปฏิบัติส�าหรับ
ผู้น�าศาสนาในการร่วมกับผู้น�าชุมชนและเจ้าหน้าที่สหวิชาชีพ
ในการให้ความคุ้มครองผู้หญิงและเด็กที่ถูกกระท�า
ด้วยความรุนแรง ๓๑๒ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน ใน ๓ ประเด็นที่อยู่ในความห่วงใย
๓๐๗ รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ ๑๒๕/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ และที่ ๑๖๑-๑๙๓/๒๕๕๘ ลงวันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๕๘ ของคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.
๓๐๘ รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ ๑๐๘๘/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.
๓๐๙ รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ ๑๐๓๐/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๖๐ ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.
๓๑๐ แถลงการณ์คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เรื่อง ประณามการลอบยิงเยาวชนและสตรีผู้บริสุทธิ์ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส.
๓๑๑ จาก หนังสือส�านักงานสถิติแห่งชาติ ที่ ดศ ๐๕๐๗/๑๗๘๒ ลงวันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑ เรื่อง ข้อมูลด้านโภชนาการของเด็กในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบการจัดท�า
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย.
๓๑๒ จาก ข้อเสนอแนะการเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้. เล่มเดิม. (น. ๓).
163