Page 160 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 160
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
ส�าหรับมิติด้านสุขภาพ ในพื้นที่จังหวัดยะลา ปัตตานี ปัจจัยด้านคุณภาพของอาหารเช้า พบว่าเด็ก
และนราธิวาส มีจ�านวนเด็กแรกเกิดถึงอายุ ๑๒ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบางส่วนไม่ได้รับประทานอาหาร
ไม่ผ่านเกณฑ์ในการได้รับวัคซีนป้องกันโรคตามตาราง เช้า และมีการรับประทานขนมกรุบกรอบแทนอาหาร
สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคสูงเป็นสามอันดับแรกของ ที่มีคุณค่าทางโภชนาการ รวมถึงคุณภาพอาหาร
ประเทศไทย ในปี ๒๕๖๑ ปรากฏกรณีการเสียชีวิต ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนมีความไม่ครบถ้วน
ของเด็กในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้จากโรคหัด ทั้งในด้านของชนิดและปริมาณอาหาร ๒๙๖
จ�านวน ๑๖ ราย โดยเด็กที่เสียชีวิตอยู่ในพื้นที่
จังหวัดปัตตานี ๕ ราย จังหวัดยะลา ๑๐ ราย และ ปัจจัยด้านบุคลากรสาธารณสุขที่พบว่า บุคลากรบางส่วน
จังหวัดสงขลา ๑ ราย ทั้งนี้ เด็กในจังหวัดปัตตานี ในงานบริการฝากครรภ์ (antenatal care) และงานส่งเสริม
และยะลาที่เสียชีวิตทั้ง ๑๕ รายมีประวัติไม่ได้รับวัคซีน สุขภาพเด็กดี (Well Child Clinic :WCC) มีจ�านวนน้อย
ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากความเชื่อ ฐานะและ มีความรู้และทักษะด้านโภชนาการสตรีและเด็กไม่มาก
สภาพครอบครัว ความยากจน และการอยู่ห่างไกล รวมถึงภาระงานที่มากส่งผลให้ไม่สามารถท�างาน
ศูนย์บริการสาธารณสุข ๒๙๔ นอกจากนี้ รายงาน เชิงคุณภาพได้มากนัก ๒๙๗
ผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน
ของประเทศไทย ปี ๒๕๖๐ ได้เคยรายงานถึงสถานการณ์ ทั้งนี้ ภาวะทุพโภชนาการเป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการของเด็ก
ภาวะทุพโภชนาการของเด็กอายุต�่ากว่า ๕ ปีในพื้นที่ อาจส่งผลให้เด็กเรียนรู้ช้า มีภูมิต้านทานโรคต�่าและ
จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งมีภาวะผอมแห้งหรือ น�าไปสู่การเกิดโรคไม่ติดต่อหลายโรค ในส่วนของ
ภาวะทุพโภชนาการเฉียบพลันสูงที่สุดในประเทศไทย การด�าเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว รัฐได้มีนโยบาย
และมีน�้าหนักต�่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน ทั้งนี้ พบว่า และมาตรการต่าง ๆ อาทิ โครงการมหัศจรรย์ ๑,๐๐๐
๒๙๕
สาเหตุที่ส่งผลให้เด็กมีภาวะทุพโภชนาการประกอบด้วย วันแรกของชีวิต การฟื้นฟูระบบเฝ้าระวังโภชนาการ บทที่ ๕
ปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้ หญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย การติดตามเร่งรัดให้ท้องถิ่น
และชุมชนจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพทั้งชนิดและ
ปัจจัยด้านการประกอบอาชีพของผู้ปกครอง โดยในพื้นที่ ปริมาณ การจัดให้มีอาหารเช้าในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
จังหวัดชายแดนภาคใต้ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ และโรงเรียน การใช้กลไกนักแนะแนวโภชนาการและแม่
กรีดยาง ซึ่งจะต้องออกจากบ้านในช่วงเวลาดึก และ อาสาในการดูแลติดตามเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ
๒๙๘
อาจจะไม่มีการเตรียมอาหารเช้าส�าหรับเด็ก ส่งผลให้ รวมถึงการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กปฐมวัย
เด็กบางรายได้รับประทานอาหารไม่ครบ ๓ มื้อ รวมถึง ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับการดูแล
การเลือกซื้ออาหารที่ไม่มีคุณค่าทางโภชนาการ และพัฒนาทุกด้าน เป็นต้น
๒๙๙
มาให้เด็กรับประทาน การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน ใน ๓ ประเด็นที่อยู่ในความห่วงใย
๒๙๔ จาก เปิดใจนายอ�าเภอยะรัง ระดมพลัง ๔ เสาหลักหยุดยั้งโรคหัด, โดย ส�านักข่าวอิศรา, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://www.isranews.org/content-page/67-south-slide/
70989-forecores.html
๒๙๕ จาก รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๖๐ (น. ๑๘๔ – ๑๘๕), โดย ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ๒๕๖๑, กรุงเทพฯ:
ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. ลิขสิทธิ์ ๒๕๖๑ โดย ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.
๒๙๖ จาก หนังสือศูนย์อนามัยที่ ๑๒ จังหวัดยะลา ที่ สธ ๐๙๒๒.๐๓/๑๔๗๐ ลงวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑ เรื่อง ขอส่งข้อมูลเพื่อประกอบการจัดท�ารายงานผลการประเมิน
สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี พ.ศ. ๒๕๖๑.
๒๙๗ จาก หนังสือศูนย์บริหารการพัฒนาสุขภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ สธ ๐๒๒๒/๖๒๓ ลงวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๖๑ เรื่อง ข้อมูลสถานการณ์ด้านสุขภาพในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้.
๒๙๘ จาก หนังสือศูนย์อนามัยที่ ๑๒ จังหวัดยะลา ที่ สธ ๐๙๒๒.๐๓/๑๔๗๐ ลงวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑ เรื่อง ขอส่งข้อมูลเพื่อประกอบการจัดท�ารายงานผลการประเมินสถานการณ์
ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี พ.ศ. ๒๕๖๑.
๒๙๙ จาก สถ.ขับเคลื่อนพัฒนาศูนย์เด็กเล็กพื้นที่ชายแดนใต้ สู่พัฒนาการคุณภาพที่ดี, โดย ไทยรัฐ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/content/1183882
159