Page 169 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 169

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          การประเมินสถานการณ์ ปัญหาและอุปสรรค                 โดยในปี ๒๕๖๐ มีจ�านวนคดีที่ส�านักงานคดีค้ามนุษย์
          รัฐบาลให้ความส�าคัญในการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์      ส�านักงานอัยการสูงสุด  ได้รับส�านวนคดีค้ามนุษย์
          โดยมีการออกกฎหมายและมีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย       จากพนักงานสอบสวนทั่วประเทศรวมทั้งหมด ๔๑๗ ส�านวน
          หลายฉบับมาอย่างต่อเนื่อง และหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง   และในปี ๒๕๖๑ รวมทั้งหมด ๓๕๗ ส�านวน  ดังนั้น
                                                                                                    ๓๒๗
          มีการด�าเนินการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา            รัฐจึงต้องมีความพยายามและความมุ่งมั่นในการด�าเนินการ
          การค้ามนุษย์หลายประการข้างต้น รวมถึงการพิจารณาคดี   แก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ต่อไป  รวมทั้งต้องมี
          ความผิดต่อพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม           ความร่วมมือกับหลายฝ่ายทั้งในระดับประเทศและ
          การค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ พบว่าใช้ระยะเวลาไม่นาน       ในระดับระหว่างประเทศ  ที่ส�าคัญต้องมีการบังคับ

          โดยส่วนใหญ่แล้วจะเสร็จภายในหนึ่งปี จากความพยายาม    ใช้กฎหมายที่มีอยู่อย่างจริงจังโดยต่อเนื่อง ในส่วนของ
          และความมุ่งมั่นในการด�าเนินการแก้ไขปัญหา            แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ ที่ก�าหนดมาตรการ
          ในปี ๒๕๖๑ กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา          ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกัน คุ้มครอง และช่วยเหลือผู้เสียหาย
          เปิดเผยรายงานการค้ามนุษย์ประจ�าปี  ๒๕๖๑  ว่า        จากการค้ามนุษย์โดยเฉพาะผู้หญิงและเด็กไว้ใน

          ประเทศไทยอยู่ในระดับ Tier 2 ซึ่งเป็นการปรับอันดับขึ้น  แผนย่อยและภายใต้กลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้องนั้น
          จากที่ได้รับการจัดให้อยู่ในระดับ Tier 2 (เฝ้าจับตามอง)    ยังไม่มีผลการด�าเนินงานที่ชัดเจนเนื่องจากการติดตาม
          เมื่อปี ๒๕๖๐ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าประเทศไทยจะได้รับ   โดยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องก�าหนดให้มีการรายงาน
          การจัดระดับดีขึ้น แต่ยังมีกรณีการค้ามนุษย์เพื่อแสวงหา  ผลด�าเนินการเพียงปีละหนึ่งครั้งซึ่งอาจไม่เพียงพอ

          ประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ในอุตสาหกรรมการประมง    หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงควรให้ความส�าคัญกับการเก็บ
          การขายบริการทางเพศ  ขอทาน  รวมทั้งปรากฏว่า          รวบรวมข้อมูลผลการด�าเนินงานมากขึ้นเพื่อเป็นประโยชน์
          ยังมีเจ้าหน้าที่ของรัฐเข้าไปกระท�าความผิดในคดีค้ามนุษย์    ในการประเมินผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติตามแผนฯ











































          ๓๒๗  จาก หนังสือส�านักงานอัยการสูงสุด ที่ อส ๐๐๕๐ (ยฐ)/๒๙๗ ลงวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๖๑ เรื่อง ขอทราบข้อมูลเพื่อประกอบการจัดท�ารายงานผลการประเมินสถานการณ์
          ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี พ.ศ. ๒๕๖๑. และข้อมูลเพิ่มเติมจากส�านักงานอัยการสูงสุด เมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๒.


      168
   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174