Page 168 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 168

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            ๖.  การทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของ                ได้ประกาศให้เป็นวาระแห่งชาติอีกครั้งและได้มีการด�าเนินการ
            ประเทศไทย ภายใต้กระบวนการ Universal                 ในเรื่องดังกล่าวมาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในปี ๒๕๖๑
            Periodic Review (UPR) รอบที่ ๒                      มีการด�าเนินการหลายประการ  เช่น  การจัดงานวัน
            ข้อเสนอแนะด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยได้รับและ     ต่อต้านการค้ามนุษย์ภายใต้หัวข้อ “ประชารัฐร่วมใจ ต้านภัย

            ค�ามั่นโดยสมัครใจ มีจ�านวน ๒๔๙ ข้อ โดยประเทศไทย     ค้ามนุษย์” ๓๒๓   โครงการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ
            ให้ค�ารับรองข้อเสนอแนะ จ�านวน ๑๘๗ ข้อ โดยมีข้อเสนอแนะ   พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑
            ที่เกี่ยวกับการค้ามนุษย์ เช่น ด�าเนินการเพื่อให้ค�านิยาม  และที่แก้ไขเพิ่มเติม  โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ
            ของ “การแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ” ในมาตรา ๔ และ       ในการสร้างสรรค์สื่อที่ดีเพื่อรณรงค์เผยแพร่ความรู้และป้องกัน

            มาตรา ๖ ของพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม          การค้ามนุษย์ของจังหวัดอุดรธานี การลงนามบันทึก
            การค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ สอดคล้องกับข้อ ๓ ของพิธีสาร  ความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านการต่อต้านการค้ามนุษย์
            ว่าด้วยการป้องกัน ปราบปราม และลงโทษการค้ามนุษย์     ระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลสหรัฐ
            โดยเฉพาะสตรีและเด็ก การให้ความส�าคัญกับการลงโทษ     อาหรับเอมิเรตส์  และการจัดตั้งคณะท�างานต่อต้าน
                                                                              ๓๒๔
            ผู้กระท�าความผิดฐานค้ามนุษย์ การก�าหนดมาตรการและ    การค้ามนุษย์โดยส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ ซึ่งประกอบด้วย
            กลไกที่เหมาะสมเพื่อป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์   เจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมาย นักสังคมสงเคราะห์ และ
            เป็นต้น                                             เจ้าหน้าที่องค์กรพัฒนาเอกชน  นอกจากนี้ ยังมีการคุ้มครอง
                                                                                       ๓๒๕
                                                                ช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์จ�านวน ๑๓๗ คน

            ๗. การด�เนินการของประเทศไทย                         แบ่งเป็น การช่วยเหลือในปี ๒๕๕๗ จ�านวน ๔ คน ปี ๒๕๕๘
            ประเทศไทยได้ประกาศเจตนารมณ์และนโยบายเรื่อง          จ�านวน ๓๓ คน ปี ๒๕๕๙ จ�านวน ๓๔ คน ปี ๒๕๖๐ จ�านวน
            การป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ของประเทศไทย     ๒๙ คน และปี ๒๕๖๑ จ�านวน ๓๗ คน
                                                                                                ๓๒๖
                                                                                                                    บทที่ ๕
            ให้เป็นวาระแห่งชาติตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ ต่อมาในปี ๒๕๕๘


































            ๓๒๒  จาก ก.แรงงาน ร่วมงานวันต่อต้านการค้ามนุษย์ ประจ�าปี ๒๕๖๑, โดย กระทรวงแรงงาน, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://www.mol.go.th/content/70709/1528268745 การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน ใน ๓ ประเด็นที่อยู่ในความห่วงใย
            ๓๒๓  ข้อมูลกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
            ๓๒๕  จาก รายงานการค้ามนุษย์ประจ�าปี พ.ศ. ๒๕๖๑, โดย ส�านักงานเพื่อการตรวจสอบและต่อสู้กับการค้ามนุษย์ประเทศไทย: กลุ่มที่ ๒, สถานทูตสหรัฐและสถานกงสุลในประเทศไทย, ๒๕๖๑.
            สืบค้นจาก https://th.usembassy.gov/th/our-relationship-th/official-reports-th/๒๐๑๘-trafficking-persons-report-thailand-th/
            ๓๒๖  จาก หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท ๐๓๐๗.๑/๕๓๔๕ ลงวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๖๑ เรื่อง รายงานผลการด�าเนินการเรื่องสิทธิสตรีอันเกี่ยวเนื่องกับสิทธิพลเมือง. และข้อมูล
            เพิ่มเติมจากกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๖๒.


                                                                                                              167
   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173