Page 167 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 167

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          จากข้อมูลคดีความผิดต่อพระราชบัญญัติป้องกันและ       ผู้เสียหาย  มาตรการข้อ  ๕  ก�าหนดให้มีมาตรการ
          ปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ พบว่า ในช่วงเดือน    ในการคุ้มครอง และช่วยเหลือเหยื่อของการค้ามนุษย์
          มกราคม - ธันวาคม ๒๕๖๐ ศาลมีค�าพิพากษาแล้วเสร็จ      และประกันว่าจะไม่มีการใช้มาตรการใด ๆ ที่ขัดต่อหลัก
          ทั่วราชอาณาจักร ทั้งสิ้นจ�านวน ๕๓๖ คดี โดยใช้ระยะเวลา  สิทธิมนุษยชนต่อเหยื่อ แผนส�าหรับกลุ่มเด็กและเยาวชน มาตรการ

          ไม่เกิน ๖ เดือน จ�านวน ๓๓๙ คดี ใช้ระยะเวลาเกิน ๖ เดือน  ข้อ ๖ เร่งรัดมาตรการป้องกันและบรรเทาผลกระทบจาก
          แต่ไม่เกิน ๑ ปี จ�านวน ๑๕๓ คดี ใช้ระยะเวลาเกิน ๑ ปี   ปัญหาเด็กที่เป็นเหยื่อของการแสวงหาประโยชน์ทางเพศ
          แต่ไม่เกิน ๒ ปี จ�านวน ๔๓ คดี และใช้ระยะเวลาไม่เกิน ๓ ปี   และการค้ามนุษย์ และแผนส�าหรับกลุ่มสตรี มาตรการ
          จ�านวน ๑ คดี ส�าหรับในช่วงเดือนมกราคม - ตุลาคม ๒๕๖๑   ข้อ ๑ ส่งเสริมบทบาทของชุมชนในระดับพื้นที่ซึ่งเข้าถึง

          ศาลมีค�าพิพากษาแล้วเสร็จทั่วราชอาณาจักร ทั้งสิ้น ๓๘๑    ข้อมูล ให้แจ้งเบาะแสแก่เจ้าหน้าที่ในกระบวนการยุติธรรม
          คดี โดยใช้ระยะเวลาไม่เกิน ๖ เดือน จ�านวน ๒๕๗ คดี    ที่เกี่ยวข้อง มาตรการข้อ ๒ ส่งเสริมการใช้ประโยชน์
          ใช้ระยะเวลาเกิน ๖ เดือน แต่ไม่เกิน ๑ ปี จ�านวน ๑๑๖ คดี   จากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในการจัดสวัสดิการสังคม
          และใช้ระยะเวลาไม่เกิน ๒ ปี จ�านวน ๘ คดี ๓๒๑         ขั้นพื้นฐานแก่สตรีที่ตกเป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์ มาตรการ

                                                              ข้อ ๕ เร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ชนบทและพื้นที่ประสบ
          ๕. แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ.          ปัญหาความยากจนอย่างรุนแรง เนื่องจากปัญหาเศรษฐกิจ
          ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑)                                        และความยากจน เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับปัญหา
          แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่ใช้อยู่ในปี ๒๕๖๑ เป็นแผน  การค้ามนุษย์ ซึ่งกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพได้ด�าเนินการ

          สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ ซึ่งในแผนดังกล่าว    ติดตามผลการปฏิบัติตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
          ได้ก�าหนดมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการป้องกัน คุ้มครอง   ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นประจ�าทุกปี โดยได้ขอให้
          และช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ไว้ภายใต้แผนย่อย  หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรายงานผลมายังกรมคุ้มครองสิทธิและ
          และกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง คือ แผนด้านกระบวนการ  เสรีภาพภายในเดือนพฤศจิกายน นอกจากนี้ ยังประสาน

          ยุติธรรม มาตรการข้อ ๘ ก�าหนดให้มีการส่งเสริมมาตรการ  งานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นระยะและท�าหนังสือเร่งรัด
          แก้ไข สถานการณ์การค้ามนุษย์โดยร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับ  ติดตามอีกครั้งหากไม่มีการส่งรายงานผลภายในระยะเวลา
          ประเทศเพื่อนบ้านอย่างต่อเนื่อง แผนส�าหรับกลุ่มเหยื่อ/   ที่ก�าหนด ๓๒๒































          ๓๒๑  จาก หนังสือส�านักงานศาลยุติธรรม ที่ ศย ๐๑๖/๑๘๘๓๕ ลงวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๑ เรื่อง ข้อมูลเพื่อประกอบการจัดท�ารายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน
          ของประเทศไทย, โดย ส�านักงานศาลยุติธรรม, ๒๕๖๑, กรุงเทพฯ : ส�านักงานศาลยุติธรรม. และข้อมูลเพิ่มเติมจากส�านักงานศาลยุติธรรม เมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๒.
          ๓๒๒  จาก หนังสือกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ที่ ยธ ๐๔๑๗/๓๙๓๑ ลงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๑ เรื่อง ข้อมูลเพื่อประกอบการจัดท�ารายงานผลการประเมินสถานการณ์
          ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ประจ�าปี ๒๕๖๑.


      166
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172