Page 163 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 163
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
และข้อจ�ากัดด้านบุคลากรสาธารณสุข ทั้งในมิติของจ�านวน ในการด�าเนินการแก้ไขปัญหาดังกล่าวทั้งในมิติของวิถีชีวิต
บุคลากร ภาระงาน องค์ความรู้ และทักษะการปฏิบัติงาน ความเชื่อ และสภาพสังคม รวมถึงปัจจัยด้านบุคลากรที่ปฏิบัติ
งานเกี่ยวกับอนามัยแม่และเด็ก ทั้งในมิติจ�านวนบุคลากร
นอกจากนี้ ยังมีข้อห่วงกังวลต่อสถานการณ์ในมิติต่าง ๆ ที่ ทักษะ องค์ความรู้ และประสบการณ์ในงาน
อาจส่งผลต่อสิทธิเสรีภาพในชีวิตและร่างกายของประชาชน
ซึ่งจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในปี ๒๕๖๑ พบว่า ข้อเสนอแนะ
๑. ด้านการด�าเนินงานของรัฐ รัฐควรพิจารณาทบทวน
การก่อเหตุในพื้นที่สาธารณะที่มีประชาชนหนาแน่น ความจ�าเป็นในการใช้กฎหมายความมั่นคงในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง
ยังคงปรากฏอยู่ และผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ ในพื้นที่ใดที่สถานการณ์ดีขึ้น ควรมีการยกเลิกหรือ
ความไม่สงบที่เกิดขึ้นในพื้นที่ดังกล่าว ส่วนใหญ่เป็นกลุ่ม เปลี่ยนไปใช้กฎหมายความมั่นคงที่กระทบต่อสิทธิและเสรีภาพ
เป้าหมายที่มีความเปราะบาง เช่น สตรีและเด็ก รวมถึงปรากฏ ของประชาชนน้อยกว่าดังเช่นที่ได้ด�าเนินการในอ�าเภอเบตง
เหตุการณ์ที่ผู้ก่อเหตุมุ่งเป้าหมายโดยตรงต่อสตรีและเด็ก จังหวัดยะลา และอ�าเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลดระดับมาใช้พระราชบัญญัติการรักษา
การได้รับวัคซีนของเด็กแรกเกิดถึงอายุ ๑๒ ปี ในพื้นที่ ๓ ความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ เพื่อไม่ให้
จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ในการได้รับวัคซีน เกิดการบังคับใช้กฎหมายซ�้าซ้อนและเพื่อให้กระทบต่อ
ป้องกันโรคตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ซึ่งอาจส่งผล สิทธิและเสรีภาพของประชาชนน้อยที่สุด ๓๐๖
ต่อสุขภาวะและการเสียชีวิตจากโรคที่สามารถป้องกัน
ได้ด้วยวัคซีน ๒. ด้านสิทธิในกระบวนการยุติธรรม จากผลการตรวจสอบ
ข้อร้องเรียนพบว่าบางกรณียังคงมีการกระท�าอันเป็นการละเมิด
สตรีมุสลิมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ยังเข้าถึง สิทธิมนุษยชนในระหว่างการควบคุมตัว กสม. ได้ตรวจสอบ
ความยุติธรรมได้อย่างจ�ากัดและประสบกับกระบวนการยุติธรรม และมีข้อเสนอแนะไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
ที่ขาดการค�านึงถึงมิติความอ่อนไหวทางเพศสภาพ อาทิ
ในกรณีการสอบสวนสตรีมุสลิมที่ได้รับผลกระทบจาก การประสานความร่วมมือให้แพทย์ของโรงพยาบาล
ความรุนแรงในครอบครัว พบว่ามีการสอบสวนโดยพนักงาน ประจ�าจังหวัดเป็นผู้ท�าหน้าที่ตรวจร่างกาย และจัดท�า
สอบสวนที่เป็นเพศชายและไม่มีการใช้ทีมสหวิชาชีพ บันทึกการตรวจร่างกายไว้เป็นหลักฐานก่อนเพื่อแสดง
ในกระบวนการสอบสวน นอกจากนี้ ยังพบว่าเมื่อสตรีที่ได้รับ ความโปร่งใส โดยด�าเนินการก่อนที่จะมีการควบคุมตัว
ความรุนแรงในครอบครัวด�าเนินการแจ้งความกับเจ้าหน้าที่ ผู้ที่ถูกเชิญตัวมาซักถามหรือผู้ต้องสงสัยว่ามีส่วนเกี่ยวข้อง
ต�ารวจ มักถูกมองว่าเป็นเรื่องในครอบครัวและ กับเหตุการณ์ความไม่สงบ ทั้งนี้ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นต่อ
ไม่มีการลงบันทึกประจ�าวัน โดยให้เป็นหน้าที่ของผู้น�า ประชาชนในพื้นที่และลดเงื่อนไขต่าง ๆ ที่อาจก่อให้เกิด
ศาสนาในชุมชนซึ่งส่วนใหญ่เป็นเพศชายท�าหน้าที่ไกล่เกลี่ย ความไม่เป็นธรรม
สตรีในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ยังประสบปัญหา
ด้านสุขภาพอนามัยและสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ ได้แก่ การสมรส
และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร การไม่ได้เลือกคู่ครองเอง
ภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ อัตราการตายของมารดา
การถูกบังคับให้มีเพศสัมพันธ์จากคู่สมรส และการได้รับ
ความรุนแรงทางเพศ ในขณะที่รัฐยังมีข้อท้าทาย
๓๐๖ รายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมายที่ ๘๙/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๗ ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.
162