Page 162 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 162
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
ทั้งนี้ ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีอัตราส่วนมารดา จากการปฏิบัติงานของ กสม. เพื่อหาข้อเท็จจริงในประเด็น
ตายสูง โดยการเสียชีวิตส่วนใหญ่เกิดจากสาเหตุที่หญิง ที่มีการร้องเรียนและการส่งเสริมการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ตั้งครรภ์ยังคงฝากครรภ์กับผดุงครรภ์โบราณด้วยเหตุผล ในพื้นที่ รัฐมีความพยายามสร้างความตระหนัก
ด้านวิถีชีวิต ความเชื่อ ศาสนา และวัฒนธรรมที่เป็นตัวก�าหนด เรื่องสิทธิมนุษยชนแก่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ และผู้บังคับบัญชา
บรรทัดฐานปฏิบัติตนของหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งไม่ครอบคลุม ระดับสูงให้ความส�าคัญในการดูแลการปฏิบัติให้เป็นไปตาม
เรื่องการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนและส่งเสริมสุขภาพ ขั้นตอนที่เหมาะสมและถูกต้องเพื่อลดการถูกกล่าวหาว่า
ตามหลักสูตรศาสตร์สมัยใหม่ มีการกระท�าในลักษณะที่รุนแรงหรือเกินขอบเขตที่กฎหมาย
๓๐๔
ให้อ�านาจ เช่น การตรวจค้น การให้เยี่ยม การลงบันทึก
การประเมินสถานการณ์ ปัญหาและอุปสรรค ประจ�าวันที่สถานีต�ารวจและน�าไปตรวจร่างกาย
จากสถิติเหตุการณ์ความไม่สงบที่ลดลงและการด�าเนินการ เมื่อมีการควบคุมตัวผู้ต้องสงสัยในคดีความมั่นคงไปซักถาม
ที่ส�าคัญของรัฐ แสดงให้เห็นถึงความพยายามของรัฐ และการอบรมส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
ในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ทั้งในระดับผู้ปฏิบัติและผู้บังคับบัญชา
และปัญหาในมิติอื่น ๆ โดยพบว่า รัฐมีความพยายามที่จะ เป็นต้น อย่างไรก็ดี ยังคงมีข้อร้องเรียนต่อ กสม. กรณีที่กล่าว
ลดเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ ซึ่งมีผลต่อสิทธิเสรีภาพ อ้างว่ามีการกระท�าการอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน
ในชีวิตและร่างกายของประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดน ในระหว่างการควบคุมตัวผู้ต้องสงสัยในคดีความมั่นคง
ภาคใต้ และได้ประกาศปรับลดพื้นที่ในการประกาศใช้ ซึ่งได้ด�าเนินการตรวจสอบและมีข้อเสนอแนะไปยัง
พระราชก�าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนให้ดีขึ้น
พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งอาจช่วยลดความเสี่ยงต่อการกระทบ
สิทธิเสรีภาพของประชาชนจากการบังคับใช้กฎหมาย ส่วนการด�าเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ
ฉบับดังกล่าว อาทิ ปัญหาการร้องเรียนและกล่าวอ้างว่าได้รับ ของเด็กในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ รัฐมีนโยบาย บทที่ ๕
ผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนจากการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ และโครงการต่าง ๆ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ความมั่นคงภายใต้พระราชก�าหนดการบริหารราชการ แต่พบว่ายังมีข้อท้าทายในเรื่องสภาพครอบครัวของเด็ก การให้
ในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ๓๐๕ ความส�าคัญต่อเรื่องดังกล่าวของผู้ปกครองและผู้ที่ดูแลเด็ก
๓๐๔ จาก อนามัยแม่และเด็ก ๓ จังหวัดชายแดนใต้วิกฤติ มารดาตายสูงกว่าเป้าหมายประเทศ ๓ เท่า, โดย Hfocus, ๒๕๖๐. สืบค้นจาก https://www.hfocus.org/content/ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน ใน ๓ ประเด็นที่อยู่ในความห่วงใย
2017/03/13548
๓๐๕ พระราชก�าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ก�าหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่สามารถปิดล้อม ตรวจค้น อายัดจับกุม และสามารถกักตัวบุคคลที่
ต้องสงสัยได้คราวละ ๗ วัน โดยมีหมายศาล และต่อได้คราวละ ๗ วัน แต่รวมระยะเวลาควบคุมทั้งหมดต้องไม่เกิน ๓๐ วัน โดยไม่มีการพิจารณาคดีในศาล.
161