Page 159 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 159
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
และใช้อาวุธปืนจ่อศีรษะ การให้เปลือยกายในห้องเย็น ส�าหรับสถานการณ์การบังคับใช้กฎหมายพิเศษ
เป็นต้น ซึ่งจากผลการพิจารณาค�าร้องของ กสม. พบว่า ด้านความมั่นคงในพื้นที่นั้น ในปี ๒๕๖๑ รัฐบาลได้ยกเลิก
ในบางกรณียังมีการกระท�าหรือการละเลยการกระท�าที่เป็น การประกาศใช้พระราชก�าหนดการบริหารราชการ
การละเมิดสิทธิมนุษยชน ทั้งนี้ ประเด็นที่เป็นสาเหตุของ ในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ เพิ่มเติม ๒ เขตพื้นที่
๒๙๑
การร้องเรียนส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากปัญหาความกังวลและ คือ พื้นที่อ�าเภอเบตง จังหวัดยะลา และอ�าเภอสุไหงโกลก
ความรู้สึกหวาดระแวงว่าจะมีการกระท�าหรือการละเลย จังหวัดนราธิวาส โดยน�าพระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคง
การกระท�าที่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อตนเองหรือ ภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ มาบังคับใช้แทน
ญาติพี่น้องที่เป็นผู้ต้องสงสัยในคดีความมั่นคง กสม. ได้ด�าเนินการ ด้วยเหตุผลว่าทั้ง ๒ พื้นที่อยู่ในภาวะที่เจ้าหน้าที่ของรัฐ
ตรวจสอบเพื่อหาข้อเท็จจริงและท�าความเข้าใจกับทุกฝ่าย และหน่วยงานของรัฐสามารถใช้มาตรการปกติเข้าควบคุม
เพื่อลดข้อกังวลอันเป็นที่มาของข้อร้องเรียนนั้น ๆ ระงับยับยั้ง และแก้ไขปัญหาได้แล้ว ๒๙๒
พร้อมกับหารือกับแม่ทัพภาคที่ ๔ และผู้อ�านวยการรักษา
ความมั่นคงภายในภาค ๔ โดยขอให้กองทัพค�านึงถึงความกังวล สิทธิเด็ก
และความห่วงใยของญาติและผู้ถูกควบคุมตัวในสถานที่ ในปี ๒๕๖๑ มีจ�านวนเด็ก (อายุ ๐ – ๑๗ ปี) ที่ได้รับ
ควบคุมตัว และขอให้มีมาตรการหรือแนวทางเพื่อคุ้มครอง ผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบ จ�านวน ๒๕ ราย ลดลงจาก
สิทธิในชีวิตและร่างกายของผู้ถูกควบคุมตัว ซึ่งแม่ทัพภาค ปี ๒๕๖๐ ที่มีจ�านวน ๓๖ ราย อย่างไรก็ตาม ในปี ๒๕๖๑
ที่ ๔ และผู้อ�านวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค ๔ มีเด็กที่เสียชีวิตจากเหตุการณ์ความไม่สงบ ๑๑ ราย
ได้ยืนยันในการให้ความส�าคัญเรื่องการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ซึ่งมากกว่าสถิติในปี ๒๕๖๐ ที่มีเด็กเสียชีวิตเพียง ๔ ราย
ต่อประชาชนในพื้นที่ตลอดจนผู้ถูกควบคุมตัว รวมถึง แต่เด็กที่ได้รับบาดเจ็บมีจ�านวนลดลงจาก ๓๒ รายในปี ๒๕๖๐
ให้ความร่วมมือกับ กสม. ในการตรวจสอบข้อเท็จจริง เป็น ๑๔ รายในปี ๒๕๖๑ ทั้งนี้ เด็กที่เสียชีวิตในปี ๒๕๖๑
จากเรื่องร้องเรียนทุกกรณีอย่างทันเหตุการณ์ จ�านวน ๑๑ ราย เป็นเพศชาย ๑๐ ราย เพศหญิง ๑ ราย
และเด็กที่ได้รับบาดเจ็บ ๑๔ ราย เป็นเพศชาย ๔ ราย
เพศหญิง ๑๐ ราย ๒๙๓
สถิติเด็กที่เสียชีวิตและได้รับบาดเจ็บจากเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปี ๒๕๔๗ – ๒๕๖๑)
จำนวน (ราย)
๖๐ ๕๖
๕๓ ๕๐
๔๘
๔๕ ๔๔
๓๗
๓๖ ๔๐
๓๖ ๓๒
๓๐ ๓๒ ๓๕
๒๓
๑๗ ๒๐
๑๕ ๑๔ ๑๔
๙ ๑๑
๖
๗ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๔
๐ ๒ ๔
๐
๒๕๔๗ ๒๕๔๘ ๒๕๔๙ ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ป
ไดรับบาดเจ็บ เสียชีวิต
ที่มา : ฐานขอมูลเหตุการณชายแดนใต ศูนยเฝาระวังสถานการณภาคใต
๒๙๑ ปัจจุบันมีพื้นที่ที่ประกาศยกเลิกพระราชก�าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินแล้วจ�านวน ๓ อ�าเภอ ได้แก่ อ�าเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี อ�าเภอเบตง จังหวัดยะลา
และอ�าเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส.
๒๙๒ จาก ต่ออายุ พ.ร.ก. ฉุกเฉิน ๓ จว.ชายแดนใต้ ยกเว้น ๓ อ�าเภอ สุไหงโก-ลก-เบตง-แม่ลาน’, โดย แนวหน้า, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://www.naewna.com/politic/345126
๒๙๓ จาก ฐานข้อมูลเหตุการณ์ชายแดนใต้, โดย ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://deepsouthwatch.org/th/dsid
158