Page 166 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 166

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            การบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐     ๒. เมื่อวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ศาลอาญาพิพากษา
            และประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ     คดีค้ามนุษย์ข้ามชาติหลอกลวงสาวชาวโมร็อกโคมาบังคับ
            และเงื่อนไขในการขออนุญาตท�างานและการอนุญาตให้ท�างาน    ค้าประเวณีย่านซอยนานา โดยจ�าเลยเป็นชาวซูดานและ
            ตามพระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของ          คนไทย ศาลพิพากษาลงโทษจ�าคุกจ�าเลยฐานสมคบกัน

            คนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ ลงวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๖๐        เพื่อกระท�าความผิดฐานค้ามนุษย์ ฐานสนองความใคร่ของ
            เพื่อจัดระเบียบการท�างานของแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย   ผู้อื่น โดยเป็นธุระจัดหา ล่อไป หรือพาไปเพื่ออนาจาร และ
            ที่รวมถึงการควบคุมการประกอบกิจการจัดหาแรงงาน        ความผิดตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
            ต่างด้าวเข้ามาท�างานในประเทศเพื่อมิให้เกิด          การค้าประเวณี พ.ศ. ๒๕๓๙ ๓๑๙

            การเอารัดเอาเปรียบแรงงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งแรงงานข้ามชาติ
            จากประเทศเพื่อนบ้าน และการก�าหนดโทษหนักส�าหรับ      ๓. เมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๑ ศาลอาญาพิพากษา
            ผู้ลักลอบน�าเข้าแรงงานต่างด้าว และในปี ๒๕๖๑ ได้มี   คดีลักลอบค้ามนุษย์ชาวโรฮีนจาจากประเทศบังกลาเทศ และ
            การออกพระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของ       รัฐยะไข่ ประเทศเมียนมา มากักขังและท�าร้ายร่างกาย

            คนต่างด้าว (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑ เพื่อปรับปรุงกฎหมาย  ก่อนส่งให้ขบวนการค้ามนุษย์ โดยจ�าเลยเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ
            ดังกล่าวให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เช่น ในส่วนของ  ศาลพิพากษาลงโทษจ�าคุกจ�าเลยตามพระราชบัญญัติป้องกัน
            กระบวนการควบคุมและตรวจสอบการน�าคนต่างด้าว           และปราบปรามการมีส่วนร่วมในองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ
            เข้ามาท�างานในประเทศ เป็นต้น                        พ.ศ. ๒๕๕๖ พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม

                                                                การค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ และพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง
            ๔. ผลการด�เนินคดีค้ามนุษย์                          พ.ศ.  ๒๕๒๒  รวมลงโทษจ�าคุก  ๒๗  ปีไม่รอลงอาญา
            ในปี ๒๕๖๑ มีผลการด�าเนินคดีการกระท�าความผิด         และให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่คนตายและ
            ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์      คนเจ็บตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา   ๓๒๐      บทที่ ๕

            พ.ศ. ๒๕๕๑ หลายคดี เช่น


            ๑. เมื่อวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๖๑ ศาลอาญาพิพากษาคดี
            ที่จ�าเลยกับพวกรวม ๘ คน ถูกกล่าวหาว่ากระท�าความผิด

            ฐานร่วมกันค้ามนุษย์เพื่อการค้าประเวณีตามพระราชบัญญัติ
            ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ และ
            พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี
            พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยพรากเด็กอายุ ๑๔ ปีไปจากบิดามารดา

            เพื่อการค้าประเวณี หาก�าไรและเพื่อการอนาจาร จ�าเลยได้รับ
            ส่วนแบ่งค่านายหน้าบังคับให้ผู้เสียหายค้าประเวณีที่จังหวัด                                               การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน ใน ๓ ประเด็นที่อยู่ในความห่วงใย
            แม่ฮ่องสอน จ�าเลยทั้งหมดให้การปฏิเสธ ศาลพิพากษา
            จ�าคุกจ�าเลยทุกคน โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ต�ารวจที่กระท�า

            ความผิดศาลพิพากษาจ�าคุก ๓๒๐ ปี แต่ตามกฎหมายให้จ�าคุก
            จ�าเลยได้ไม่เกิน ๕๐ ปีจึงลงโทษจ�าคุกจ�าเลย ๕๐ ปี
            พร้อมทั้งให้จ�าเลยร่วมกันชดใช้ค่าเสียหายให้แก่โจทก์ร่วมด้วย ๓๑๘






            ๓๑๘  จาก คุก ๘ จ�าเลยคดีค้ามนุษย์แม่ฮ่องสอน “ดาบยุทธ” เจอหนักสุด ๓๒๐ ปี, โดย ไทยพีบีเอส, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://news.thaipbs.or.th/content/271720
            ๓๑๙  จาก ศาลจ�าคุก ๑๙ ปี แก๊งค้ามนุษย์, โดย ไทยรัฐ, ๒๕๖๑. สืบค้นจากhttps://www.thairath.co.th/content/1337317
            ๓๒๐  จาก พ.อ. - น.อ. ๒๗ ปี ค้ามนุษย์, โดย ไทยรัฐ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/content/1399432


                                                                                                              165
   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171