Page 158 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 158
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
ประชาชน เจ้าหน้าที่รัฐ รวม จ�านวนเงิน
(ราย) (ราย) (ราย) (บาท)
๑. ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบ
๑.๑ ด้านร่างกาย ๑๔๖ ๑๕๐ ๒๙๖ ๔๖,๖๑๕,๐๐๐
กรณีเสียชีวิต (๓๙) (๒๕) (๖๔)
กรณีบาดเจ็บ (๙๔) (๑๑๐) (๒๐๔)
กรณีทุพพลภาพ (๑๓) (๑๕) (๒๘)
๑.๒. ด้านทรัพย์สิน ๒๐๑ ๒๔,๙๔๔,๕๓๗
๒. การพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบ ๒๐๐ ๑,๘๙๒,๕๖๑
จากการบังคับใช้กฎหมายตามทางเลือกของตนเอง
๓. ผู้ได้รับความเสียหายและผู้ได้รับผลกระทบตามระเบียบ ๑๘๒ ๗,๐๐๒,๔๐๐
คณะกรรมการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับความเสียหาย
และผู้ได้รับผลกระทบจากการกระท�าของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
อันสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ พ.ศ. ๒๕๕๕
ในการแก้ไขปัญหาเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ รัฐบาล และหมายจับ และน�าตัวผู้ต้องสงสัยไปควบคุมตัวไว้ที่ บทที่ ๕
ได้ด�าเนินกระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุข ซึ่งในปี ๒๕๖๑ ค่ายทหารหรือสถานที่เฉพาะต่าง ๆ ในพื้นที่ ซึ่งสุ่มเสี่ยงต่อ
๒๘๘
รัฐบาลโดยหัวหน้าคณะพูดคุยสันติสุขจังหวัดชายแดน การถูกกล่าวหาและร้องเรียนว่ามีการกระท�าหรือการละเลย
ภาคใต้แถลงความคืบหน้าของการด�าเนินการโดยมีการจัดตั้ง การกระท�าที่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน ทั้งนี้ ในปี
ศูนย์ประสานงานหรือ Safe House ในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ๒๕๖๑ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้รับเรื่อง
และมีการก�าหนดพื้นที่ปลอดภัยน�าร่องจ�านวน ๑ อ�าเภอ ร้องเรียนประเด็นสิทธิมนุษยชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
ซึ่งปัจจุบันอยู่ระหว่างการเปิดเวทีสาธารณะเพื่อให้ จ�านวน ๗๒ ค�าร้อง ๒๙๐ โดยประเด็นที่มีการกล่าวอ้างว่า
ภาคประชาสังคมและภาควิชาการเข้ามามีส่วนร่วมในการก�าหนด มีการกระท�าหรือการละเลยการกระท�าที่เป็นการละเมิด
มาตรการรักษาความปลอดภัยพื้นที่ร่วมกับภาครัฐ ๒๘๙ สิทธิมนุษยชนมากที่สุด คือ ประเด็นสิทธิและเสรีภาพในชีวิต
และร่างกายอันเกี่ยวเนื่องกับสิทธิในกระบวนการยุติธรรม
๓. สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกรณีกล่าวอ้างว่าถูกเจ้าหน้าที่รัฐท�าร้าย การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน ใน ๓ ประเด็นที่อยู่ในความห่วงใย
สิทธิในกระบวนการยุติธรรม ร่างกายและกระท�าทรมานในระหว่างควบคุมตัว หรือบังคับ
ภายใต้การบังคับใช้กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคงจ�านวน ให้รับสารภาพว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ความไม่สงบ
๓ ฉบับในพื้นที่ ส่งผลให้มีการกล่าวอ้างว่าเจ้าหน้าที่ ในพื้นที่ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การเตะ ต่อย ตบตี การให้ยืน
ความมั่นคงควบคุมตัวประชาชนที่ถูกสงสัยว่ามีส่วนเกี่ยวข้อง เป็นเวลานาน การใช้ถุงด�าคลุมศีรษะจนสลบและใช้
กับกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบไปซักถามโดยไม่ต้องมีหมายค้น น�้าสาดให้ฟื้น การใช้ไฟฟ้าช๊อตตามร่างกายจนหมดสติ
๒๘๘ จาก รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๖๐ (น. ๑๘๒), โดย ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ๒๕๖๑, กรุงเทพฯ:
ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. ลิขสิทธิ์ ๒๕๖๑ โดย ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.
๒๘๙ จาก “อักษรา” สอนมวยฝ่ายความมั่นคงดับไฟใต้ เสียเวลาให้ราคา “พูโล-บีอาร์เอ็น”, โดย ส�านักข่าวอิศรา, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://www.isranews.org/content-page/
67-south-slide/68201-peacetalk_68201.html
๒๙๐ จาก ระบบสารสนเทศเพื่อการรวบรวมและบริการสารสารเทศด้านสิทธิมนุษยชน, ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ข้อมูล ณ วันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๑.
157