Page 155 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 155
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
เปรียบเทียบกับการตกค้างของผักและผลไม้ทั่วไป ซึ่งได้ส�ารวจ เมื่อยังไม่มีกฎหมายหรือระเบียบเป็นแนวทางการปฏิบัติ
และวิเคราะห์เมื่อปลายปี ๒๕๖๐ พบว่ามีการตกค้างสูงกว่า ของเจ้าหน้าที่ในเรื่องดังกล่าว จึงยังไม่ปรากฏผลเป็น
โดยผักทั่วไปพบการตกค้างเกินมาตรฐานร้อยละ ๕๔.๔ ๒๘๕ รูปธรรมในการเปลี่ยนแปลงแนวทางการปฏิบัติงานของ
เจ้าหน้าที่ นอกจากนี้ การผลักดันกฎหมาย นโยบาย ตลอดจน
การประเมินสถานการณ์ ปัญหาและอุปสรรค ระเบียบต่าง ๆ ไปสู่การปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ยังต้อง
๑. สถานการณ์ที่มีความก้าวหน้า อาศัยระยะเวลาในการสร้างความรู้ความเข้าใจและ
ผลจากการประกาศให้สิทธิมนุษยชนเป็นวาระแห่งชาติ การปรับเปลี่ยนทัศนคติจากแนวคิดเดิมที่รัฐเป็นผู้จัดการ
ของรัฐบาลเมื่อปลายปี ๒๕๖๐ ท�าให้ทุกภาคส่วน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแต่เพียงผู้เดียว
ของสังคม โดยเฉพาะหน่วยงานของรัฐมีความตื่นตัวและ มาเป็นแนวคิดใหม่ที่ประชาชนและชุมชนมีส่วนร่วมใน
ให้ความส�าคัญมากขึ้นกับการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน การจัดการ ดังสะท้อนให้เห็นจากข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นที่ยังมี
ในส่วนที่หน่วยงานรับผิดชอบ นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญ ข้อร้องเรียนและปัญหาที่เกิดขึ้นในหลายพื้นที่ยังไม่ได้รับการแก้ไข
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มีบทบัญญัติ
บางมาตราที่ก�าหนดให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้อง ๒. สถานการณ์ที่ยังมีข้อห่วงกังวล
ด�าเนินการบางประการภายในระยะเวลาที่ก�าหนด เช่น จากข้อเท็จจริงที่ปรากฏทั้งข้อมูลจากภาครัฐ ภาคเอกชน
การบัญญัติเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดท�า และภาคประชาสังคม การที่รัฐบาลมีนโยบายแก้ไขปัญหา
รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม หรือการออกกฎหมาย เศรษฐกิจด้วยการเร่งสร้างความเจริญเติบโตโดยสนับสนุน
ที่ต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน กระทรวง การลงทุนขนาดใหญ่ และเร่งสร้างสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้จัดท�าร่างกฎหมาย ท�าให้เกิดความเสี่ยงในการสร้างผลกระทบต่อประชาชน
ระเบียบ และประกาศต่าง ๆ หลายฉบับเพื่อให้สอดรับกับ และชุมชน เช่น โครงการเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก
บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ อันถือเป็นความก้าวหน้า โครงการท่าเรือน�้าลึกปากบารา โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหิน
ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของประชาชน ซึ่งยังอยู่ระหว่าง กระบี่-เทพา การก่อสร้างทางหลวงพิเศษ ตลอดจน
การด�าเนินการ การอนุญาตให้ประกอบกิจการอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น โรงงาน
ยางพารา โรงไฟฟ้าขยะ โรงไฟฟ้าชีวมวล โรงงานน�้าตาล ฯลฯ
๒๘๕ จาก ไทยแพนพบการตกค้างของสารเคมีก�าจัดศัตรูพืชในผักไฮโดรโปนิกส์สูงกว่าผักทั่วไป, โดย ThaiPAN เครือข่ายเตือนภัยสารเคมีก�าจัดศัตรู, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก
https://thaipan.org/action/504
154