Page 151 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 151
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
ซึ่งในท้ายที่สุดร่างพระราชบัญญัติฯ ที่สภานิติบัญญัติ ในปี ๒๕๖๑ มีกรณีที่ประชาชนใช้เสรีภาพในการชุมนุม
ให้ความเห็นชอบได้น�าเรื่องการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และการแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่เกี่ยวกับนโยบาย
ในระดับยุทธศาสตร์มาบัญญัติไว้ แต่ยังคงบทบัญญัติที่ให้มี สาธารณะ เช่น กรณีเครือข่าย People Go ได้จัดกิจกรรม
การด�าเนินการก่อนรายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 'We Walk…เดินมิตรภาพ' เดินเท้ารณรงค์เป็นเวลา ๑ เดือน
ได้รับความเห็นชอบไว้เช่นเดิม ตั้งแต่วันที่ ๒๐ มกราคม – ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ จาก
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ไปยังจังหวัดขอนแก่น
๒. การประกาศให้การก�าจัดขยะเป็นวาระแห่งชาติตั้งแต่ เพื่อสื่อสารถึงความต้องการประชาชนที่จะมีส่วนร่วมใน ๔
ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ท�าให้รัฐบาลส่งเสริมให้มีการจัดการขยะ ประเด็น ได้แก่ หลักประกันสุขภาพ ความมั่นคงทางอาหาร
แบบครบวงจร โดยการสนับสนุนให้มีการประกอบการโรงไฟฟ้า สิทธิชุมชน และสิทธิทางการเมืองในรัฐธรรมนูญใหม่
จากขยะในหลายพื้นที่ทั่วประเทศ แต่ถูกเจ้าหน้าที่ต�ารวจปิดกั้นกิจกรรมโดยตลอด ต่อมา
เจ้าหน้าที่ทหารได้ฟ้องร้องด�าเนินคดี ๘ ตัวแทนเครือข่ายฯ
สถานการณ์ด้านสิทธิชุมชนและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ในข้อหาฝ่าฝืนค�าสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)
และสิ่งแวดล้อม ที่ ๓/๒๕๕๘ เรื่องการรักษาความสงบเรียบร้อยและ
ความมั่นคงของชาติ ซึ่งห้ามการชุมนุมทางการเมืองเกิน ๕ คน
๑. สิทธิชุมชนที่เกี่ยวเนื่องกับเสรีภาพในการชุมนุม โดยไม่ได้รับอนุญาต
เสรีภาพในการชุมนุมมีความเกี่ยวข้องกับเสรีภาพ
ในการแสดงความคิดเห็น การชุมนุมโดยสงบ และการมีส่วนร่วม เมื่อวันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ กลุ่มเกษตรกรบ้านดอย
ในการบริหารรัฐกิจ และได้รับการรับรองในกติกา ICCPR เทวดา ต.สบบง อ.ภูซาง จ.พะเยา และนักศึกษารวม ๑๔ คน
ทั้งนี้ การจ�ากัดเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและ ได้จัดกิจกรรมเดินมิตรภาพเพื่อสนับสนุนและให้ก�าลังใจ
การชุมนุมโดยสงบอาจท�าได้เท่าที่จ�าเป็นเพื่อประโยชน์ เครือข่าย People Go จนเป็นเหตุท�าให้ถูกเจ้าหน้าที่
แห่งความมั่นคงของชาติ ความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อย ทหาร/ต�ารวจเรียกตัวไปสอบสวนช่วงดึกของวันเดียวกัน
ของสังคม การสาธารณสุข ศีลธรรมหรือการคุ้มครองสิทธิ ต่อมามีการแจ้งความด�าเนินคดีต่อชาวบ้านและนักศึกษา
และเสรีภาพของผู้อื่น ในข้อหาฝ่าฝืนค�าสั่งหัวหน้า คสช. ที่ ๓/๒๕๕๘ เรื่อง
การชุมนุมทางการเมืองจ�านวน ๑๑ ราย
๒. สิทธิชุมชนด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
ได้รับรองสิทธิชุมชนในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู หรือส่งเสริมภูมิปัญญา
ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณี
อันดีงามทั้งของท้องถิ่นและของชาติ และจัดการ บ�ารุงรักษา
และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และ
ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุลและยั่งยืน ทั้งนี้
หมายความรวมถึงสิทธิที่จะร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หรือรัฐในการด�าเนินการดังกล่าวด้วย
๒๗๘
๒๗๘ จาก รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (มาตรา ๒๐), โดย ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ๒๕๖๑, กรุงเทพฯ: ส�านักงานคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. ลิขสิทธิ์ ๒๕๖๑.
150