Page 153 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 153

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          ในเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ได้มีการชุมนุมคัดค้านโรงไฟฟ้า  บริเวณดังกล่าวจะเป็นพื้นที่ในความครอบครองดูแลของ
          ถ่านหินกระบี่ – เทพา ของประชาชนเครือข่ายปกป้อง      ราชการทหาร ซึ่งได้อนุญาตให้กระทรวงยุติธรรมใช้ที่ดิน
          สองฝั่งทะเล กระบี่-เทพา ยุติโรงไฟฟ้าถ่านหิน โดยผู้ชุมนุม  บริเวณนั้นในการสร้างบ้านพักและได้รับอนุมัติงบประมาณ
          ได้อดอาหารและเสนอข้อเรียกร้องต่อรัฐบาล ณ บริเวณ     ด�าเนินการจนการก่อสร้างใกล้จะเสร็จสมบูรณ์แล้ว

          หน้าส�านักงานองค์การสหประชาชาติ และต่อมาได้มีการลงนาม  แต่ประชาชนชาวเชียงใหม่ไม่เห็นด้วยกับโครงการและต้องการ
          ระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานกับผู้แทน        ให้พื้นที่ดังกล่าวมีสภาพเป็นป่าดังเดิม จึงรวมตัวกันคัดค้าน
          เครือข่ายฯ เพื่อหาทางออกของปัญหาร่วมกัน ทั้งสองฝ่ายตกลง  ให้มีการรื้อถอนบ้านพักออกไปและปรับปรุงสภาพพื้นที่
          ที่จะให้มีการจัดท�ารายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม  ให้กลับเป็นป่าอีกครั้งหนึ่ง เครือข่ายขอคืนพื้นที่ป่าดอยสุเทพ

          เชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment   เห็นว่าโครงการดังกล่าวมีทั้งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม
          : SEA) เพื่อพิจารณาความเหมาะสมของโครงการก่อน        จากการไม่ท�าการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม การไม่ยื่น
          เป็นผลให้เครือข่ายฯ ยุติการชุมนุม                   แบบก่อสร้างต่อท้องถิ่น การออกแบบที่กระทบต่อระบบ
                                                              นิเวศอย่างรุนแรง การก่อสร้างที่ถมล�าน�้าสาธารณะ การตัดไม้

          เมื่อเดือนมีนาคม ๒๕๖๑ ชาวบ้านกลุ่มอนุรักษ์ล�าน�้าเซบาย  ท�าลายป่า และสุดท้ายคือการไม่ฟังเสียงประชาชน ๒๘๓
          ประมาณ ๕๐ คนได้ร่วมกันจัดพิธีกรรมเพื่อเป็นการประท้วง
          กระบวนการจัดท�ารายงานผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม          ๓. สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมที่ส�คัญ
          ที่ไม่เป็นธรรม ในกรณีขออนุญาตสร้างโรงงานน�้าตาล     ๑. ค่ามาตรฐานมลพิษในอากาศ เมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม

          และโรงไฟฟ้าชีวมวลในพื้นที่บ้านน�้าปลีก อ�าเภอเมืองอ�านาจเจริญ    ๒๕๖๑ องค์กรกรีนพีซ ประเทศไทย ได้จัดนิทรรศการ
          จังหวัดอ�านาจเจริญ ทั้งนี้ กลุ่มอนุรักษ์ล�าน�้าเซบาย ต�าบล  เผยแพร่ความรู้และรณรงค์เรื่องขออากาศดีคืนมา โดยมีข้อมูล
          เชียงเพ็ง  จัดตั้งขึ้นโดยชาวบ้านในพื้นที่ที่มีจิตส�านึก   ระบุว่า ค่ามาตรฐานอากาศในประเทศไทยโดยเฉพาะใน
          มุ่งประสงค์จะอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในถิ่นฐานบ้านเกิด  กรุงเทพมหานครในช่วงเดือนมกราคม ๒๕๖๑ มีค่ามลพิษ

          ของตัวเองที่คนในพื้นที่ใช้ประโยชน์มาตั้งแต่ในอดีต มีวิถีชีวิต   ในอากาศเกินกว่าค่ามาตรฐานขององค์การอนามัยโลก
          ที่ผูกพันกับทรัพยากรธรรมชาติทั้งการท�าเกษตรกรรม     และเห็นว่าการก�าหนดค่ามาตรฐานมลพิษทางอากาศ
          แบบอินทรีย์ การท�าประมงจากล�าน�้าเซบาย การเก็บหา    ของประเทศไทยส�าหรับฝุ่นละอองไม่เกิน ๑๐ ไมครอน
          ของป่าจากป่าชุมชน โดยชุมชนต่างช่วยปกป้องและรักษา    หรือ PM ๑๐ ไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล จึงเรียกร้องให้

          เพื่อสืบทอดให้ลูกหลานได้ใช้ต่อไปในอนาคต             กรมควบคุมมลพิษใช้ค่าเฉลี่ยฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน ๒.๕
                                                              ไมครอนหรือ PM ๒.๕ ในการค�านวณดัชนีคุณภาพอากาศ
          เมื่อเดือนเมษายน  ๒๕๖๑  ประชาชนและเครือข่าย
          อนุรักษ์ป่าจังหวัดเชียงใหม่ ได้รวมตัวกันเพื่อคัดค้าน

          โครงการก่อสร้างบ้านพักข้าราชการตุลาการศาลอุทธรณ์ภาค ๕
          บนพื้นที่ป่าเชิงดอยสุเทพ ต�าบลดอนแก้ว อ�าเภอแม่ริม
          จังหวัดเชียงใหม่ เนื่องจากเห็นว่าพื้นที่ดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่ง
          ของดอยสุเทพซึ่งเป็นป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์  และ

          เป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวเชียงใหม่ให้ความเคารพนับถือ
          ในฐานะพื้นที่ของดอยสุเทพ โครงการดังกล่าวมีการตัด
          ต้นไม้ใหญ่จ�านวนมากเพื่อก่อสร้างบ้านพัก ท�าให้เกิดภูมิทัศน์
          ในลักษณะที่โล่งเตียนแบบโครงการบ้านจัดสรร ประชาชน

          ที่คัดค้านโครงการจึงเรียกบริเวณนี้ว่า “ป่าแหว่ง” แม้ว่า


          ๒๘๓  จาก คนเชียงใหม่นัดชุมนุมใหญ่ ๓๐ มิ.ย. หน้าศาลอุทธรณ์ ทวงคืนผืนป่าดอยสุเทพ, โดย นิวส์มอนิเตอร์, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://www.khaosod.co.th/monitor-news/
          news_1240806


      152
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158