Page 152 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 152
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
นอกจากนี้ มาตรา ๕๗ และมาตรา ๕๘ ก�าหนดเป็นหน้าที่
ของรัฐที่ต้องจัดให้ประชาชนและชุมชนได้ใช้สิทธิดังกล่าว
สถานการณ์ด้านสิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในปี ๒๕๖๑ ประเด็นหลัก
ยังคงเป็นเรื่องของสิทธิในการมีส่วนร่วมของชุมชน
ในการด�าเนินโครงการต่าง ๆ ทั้งการด�าเนินการโดยรัฐเอง
และการที่รัฐอนุญาตให้เอกชนด�าเนินโครงการ
โดยสิ่งที่เป็นข้อร้องเรียนของประชาชนและชุมชนยังคงเป็น
เรื่องการให้ข้อมูลข่าวสารที่ครบถ้วนเกี่ยวกับการด�าเนิน
โครงการ การรับฟังความเห็นของผู้อาจได้รับผลกระทบ
และการน�าความเห็นดังกล่าวไปประกอบการพิจารณา
ตัดสินใจ ตลอดจนการป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
ตามที่ชุมชนและประชาชนได้ให้ความเห็นไว้ก่อนการด�าเนิน
โครงการ โดยในปี ๒๕๖๑ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติได้รับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับสิทธิชุมชนในการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจ�านวน ๑๕ เรื่อง ๒๗๙ มีโรงงานได้รับอนุญาตเพิ่มขึ้น เฉพาะประเภทโรงงานตาม
เป็นเรื่องเกี่ยวกับการคัดค้านหรือขอให้ยกเลิกโครงการ ข้อ ๑๐๕ และ ๑๐๖ ในระยะเวลาตั้งแต่ปี ๒๕๕๕- ๒๕๖๑
๒๘๐
หรือการอนุญาตให้ประกอบกิจการเหมืองแร่ โรงไฟฟ้า รวม ๘๒ โรง และหลังมีการประกาศใช้ค�าสั่ง คสช.
การก่อสร้างโรงงาน การก่อสร้างทางหลวง เสาส่งสัญญาณ ที่ ๔/๒๕๕๙ มีการอนุญาตตั้งโรงงานในอ�าเภอพนมสารคาม
โทรศัพท์ และการออกหนังสือส�าคัญส�าหรับที่หลวง จังหวัดฉะเชิงเทรา เพิ่มขึ้นรวม ๓๕ โรง คือในปี ๒๕๕๙ บทที่ ๕
มีจ�านวนโรงงานเพิ่มขึ้น ๕ โรง ปี ๒๕๖๐ เพิ่มขึ้น ๙ โรง และ
นอกจากนี้ ยังมีกรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชนอันเป็นผล ปี ๒๕๖๑ เพิ่มขึ้น ๒๑ โรง ทั้งที่เดิมอ�าเภอพนมสารคาม
จากการด�าเนินโครงการที่ผ่านมาที่รอการเยียวยาแก้ไข เคยมีปัญหาการลักลอบทิ้งขยะที่เป็นกากของเสียอุตสาหกรรม
ปัญหาในหลายกรณี เช่น ผลกระทบจากการท�าเหมืองแร่ ที่ต�าบลหนองแหนในปี ๒๕๕๖ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการด�ารง
ทองค�าในจังหวัดเลย การประกอบกิจการโรงงานประเภท ชีวิตและสุขภาพอนามัยของประชาชนในพื้นที่ และสะท้อน
ต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนในพื้นที่ เช่น โรงงาน ให้เห็นว่ารัฐยังไม่มีกลไกควบคุมตรวจสอบการก�าจัด
ยางพารา โรงไฟฟ้าขยะ โรงไฟฟ้าชีวมวล เป็นต้น กากของเสียที่มีประสิทธิภาพ ส่วนพื้นที่อื่นที่เกิดความขัดแย้ง
ประเด็นหลักคือเรื่องการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ทั้งโรงไฟฟ้า
๒๘๑
การประกาศใช้ค�าสั่ง คสช. ที่ ๓/๒๕๕๙, ๔/๒๕๕๙ และ ขยะ ถ่านหิน และก๊าซ ซึ่งเป็นผลจากการประกาศยกเว้น
๔๗/๒๕๖๐ ซึ่งมีสาระส�าคัญยกเว้นการใช้ผังเมืองรวม การใช้ผังเมืองรวมตามค�าสั่ง คสช. เนื่องจากในหลายพื้นที่ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน ใน ๓ ประเด็นที่อยู่ในความห่วงใย
ในบางพื้นที่ ได้ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมในพื้นที่ต่าง ๆ ผังเมืองรวมห้ามการก่อสร้างโรงไฟฟ้า เช่น ในจังหวัด
เช่น การประกาศยกเว้นการใช้ผังเมืองรวมในเขตเศรษฐกิจ นครศรีธรรมราช ต�าบลหนองแหน จังหวัดฉะเชิงเทรา และ
พิเศษภาคตะวันออก เฉพาะในเขตจังหวัดปราจีนบุรี อ�าเภอเชียงรากใหญ่ จังหวัดปทุมธานี
๒๘๒
๒๗๙ จาก ฐานข้อมูลเรื่องร้องเรียน ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ข้อมูล ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๑.
๒๘๐ ตามกฎกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๑๕ (พ.ศ. ๒๕๔๔) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ โรงงานในล�าดับที่ ๑๐๕ ได้แก่ โรงงานที่ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการคัดแยกและฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่มีลักษณะและคุณสมบัติตามที่ก�าหนด และโรงงานในล�าดับที่ ๑๐๖ ได้แก่ โรงงานที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับน�าผลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรมที่ไม่ใช้แล้วหรือของเสียจากโรงงานมาผลิตเป็นวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ใหม่โดยผ่านกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม.
๒๘๑ จาก คืนวันพุธปลดอาวุธ คสช.iLaw X Prachatai | EP5 ม.๔๔ เมินสิ่งแวดล้อม-ผังเมือง เอื้อเขตเศรษฐกิจพิเศษ, โดย ประชาไท, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://prachatai.com/
journal/2018/07/77996
๒๘๒ จาก รวมคลิปรายการข่าว: ค�าสั่ง คสช. มาตรา ๔๔ กับการยกเว้นผังเมือง, โดย มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม, ๒๕๕๙. สืบค้นจาก https://enlawfoundation.org/newweb/?p=2782
151