Page 154 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 154
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
เนื่องจากฝุ่นละอองขนาดเล็กมีผลต่อโรคหลายชนิด เช่น
โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง โรคเกี่ยวกับระบบทางเดิน
หายใจ และอื่นๆ จึงอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อประชาชนได้
นอกจากนี้ หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องยังไม่มีระบบเตือนภัย
ประชาชนให้ได้รับรู้เมื่อมีค่ามลพิษในอากาศสูงกว่า
มาตรฐานที่ก�าหนด
๒. ปัญหาการจัดการขยะ เมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๖๑
คณะรัฐมนตรีได้มีมติเรื่องผลการประชุมขยะทะเลระดับ
อาเซียน เรื่อง การลดปริมาณขยะทะเลในกลุ่มประเทศ
อาเซียน (ASEAN Conference on Reducing Marine
Debris in ASEAN Region) ให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ เชื้อเพลิงในการประกอบกิจการโรงไฟฟ้าขยะ ท�าให้
และสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย และหน่วยงาน มีการขออนุญาตประกอบกิจการโรงไฟฟ้าขยะเพิ่มขึ้น
ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ทุกภาคส่วน อย่างมาก แต่ในกระบวนการประกอบกิจการโรงไฟฟ้าขยะ
เข้ามามีส่วนร่วมในการลดการใช้วัสดุที่ผลิตขึ้นจากพลาสติก อาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและพื้นที่ใกล้เคียง เช่น
เนื่องจากจะกลายเป็นขยะตกค้างและย่อยสลายได้ยาก การขนส่งขยะ การเก็บรักษาขยะที่เป็นวัตถุดิบ เป็นต้น
ในการประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๑ ๓. สถานการณ์สารเคมีอันตรายในผลผลิตทางการเกษตร
นายกรัฐมนตรีมีข้อสั่งการให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และอาหาร เมื่อเดือนมิถุนายน ๒๕๖๑ เครือข่าย
และสิ่งแวดล้อมเร่งรัดด�าเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี ด้านสิ่งแวดล้อม โดยเครือข่ายสนับสนุนการแบนสารพิษ บทที่ ๕
เมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ที่อันตรายร้ายแรง ได้ยื่นหนังสือถึงนายกรัฐมนตรีขอให้
โดยเร็ว และให้กระทรวงพาณิชย์เป็นหน่วยงานหลักร่วมกับ (๑) คณะกรรมการวัตถุอันตรายทบทวนมติและพิจารณา
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวง ยกเลิกพาราควอตและคลอร์ไพริฟอส เพื่อให้เป็นไปตาม
การคลัง กระทรวงมหาดไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ และ
พิจารณาก�าหนดมาตรการจูงใจส�าหรับบริษัท ห้างร้าน และ (๒) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ศึกษาหาวิธีการทดแทน
สถานประกอบการต่าง ๆ เพื่อลดปริมาณการใช้วัสดุที่ผลิต ตามมติของสภาเกษตรกรแห่งชาติ เพื่อปกป้องคุ้มครอง
จากพลาสติกอีกทางหนึ่ง สุขภาพของเกษตรกรและผู้บริโภค และ (๓) ในช่วงก่อน
การยกเลิก หากพบว่ามีผลกระทบต่อต้นทุนของเกษตรกร
ส�าหรับสถานการณ์ด้านขยะในประเทศไทยในปี ๒๕๖๑ ให้มีการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ
มีสถานการณ์ที่ส�าคัญได้แก่ การน�าเข้าขยะพิษและขยะ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน ใน ๓ ประเด็นที่อยู่ในความห่วงใย
อิเล็กทรอนิกส์ที่ผิดกฎหมาย ปัญหาขยะในทะเลที่ส่งผล เมื่อเดือนมกราคม ๒๕๖๑ เครือข่ายเตือนภัยสารเคมีก�าจัด
ต่อสิ่งมีชีวิตในทะเล และขยะจากอาหารซึ่งมีปริมาณมาก ศัตรูพืช (Thai-PAN) ได้แถลงผลการตรวจสารเคมีก�าจัด
ถึง ๖๔ เปอร์เซ็นต์ของปริมาณขยะทั้งหมด ๒๘๔ ศัตรูพืชตกค้างในผักและผลไม้ประจ�าปี ๒๕๖๑ โดยมีเป้าหมาย
ในการตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้างในผักที่ปลูกโดยไม่
นอกจากนี้ ได้เกิดผลข้างเคียงของแผนการก�าจัดขยะ ใช้ดินหรือผักโฮโดรโปนิกส์ ผลการวิเคราะห์พบว่ามีผัก
อันสืบเนื่องมาจากการก�าหนดให้เรื่องดังกล่าวเป็นวาระแห่งชาติ จ�านวน ๑๙ ตัวอย่างที่พบสารเคมีก�าจัดศัตรูพืชตกค้างเกินมาตรฐาน
กล่าวคือ มีการก�าหนดแผนก�าจัดขยะโดยน�ามาใช้เป็น หรือคิดเป็นร้อยละ ๖๓.๓ ของจ�านวนตัวอย่างทั้งหมด ซึ่งเมื่อ
๒๘๔ จาก วิกฤตขยะอาหาร (๑) สถานการณ์ขยะอาหารในไทย ความจริงที่ไม่เคยถูกพูดถึง, โดย ไทยพับลิก้า กล้าพูดความจริง, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://thaipublica.org/
2018/03/foodwastecrisis-tesco1/
153