Page 150 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 150
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
ในส่วนของนโยบาย รัฐบาลได้ก�าหนดนโยบายที่ส�าคัญ ๒. ด้านการแก้ไขปัญหาการท�าไม้หวงห้ามในที่ดินที่มี
เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติดังนี้ กรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมาย
ที่ดิน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอยู่ระหว่างการแก้ไขเพิ่มเติม
๑. นโยบายการจัดที่ดินท�กินให้ชุมชนและการแก้ไข พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ.๒๔๘๔ เพื่อให้ประชาชนสามารถ
ปัญหาที่ดินท�กินของประชาชนในเขตป่าไม้ น�าไม้ซึ่งถือเป็นไม้หวงห้ามตามกฎหมาย เช่น ไม้สัก ยางนา
เมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๖๑ ที่ประชุมคณะกรรมการ ซึ่งปลูกอยู่ที่ดินของตนไปใช้ประโยชน์ได้และเป็นการสนับสนุน
นโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) ครั้งที่ ๒/๒๕๖๑ ที่มี ให้ประชาชนปลูกไม้ยืนต้นเหล่านี้ในที่ดินของตน ทั้งนี้
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน คณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติป่าไม้
ได้เห็นชอบพื้นที่เป้าหมายและกรอบมาตรการแก้ไข (ฉบับที่..) พ.ศ. .... แล้ว และสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้พิจารณา
ปัญหาการอยู่อาศัยและท�ากินในพื้นที่ป่าไม้ (ทุกประเภท) และ และมีมติรับหลักการร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว
รับทราบการด�าเนินงานการแก้ไขปัญหาข้อเรียกร้องของ เมื่อวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๑ และให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
กลุ่มขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม (P-MOVE) ขึ้นพิจารณารายละเอียดต่อไป
โดยผลการจัดสรรที่ดินท�ากินตามข้อเรียกร้องจ�านวน ๕๘
ชุมชน สามารถด�าเนินการได้ ๓๒ ชุมชน โดยอนุญาตตาม ๓. นโยบายด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม
กฎหมายแล้ว ๘ ชุมชน อยู่ระหว่างด�าเนินการของหน่วยงาน ๑. การประกาศใช้พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา
๒๔ ชุมชน ยังไม่สามารถด�าเนินการได้ ๒๖ ชุมชน เนื่องจาก คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑
อยู่ระหว่างการแก้ไขกฎหมาย ปรับปรุงหลักเกณฑ์ และ ซึ่งมีหลักการรับรองสิทธิชุมชนในการมีส่วนร่วมในการจัดท�า
มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมก่อนการอนุมัติอนุญาต
โครงการ เพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ
๒. นโยบายด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ในกระบวนการ บทที่ ๕
๑. ในด้านการจัดการทรัพยากรแร่ เมื่อวันที่ ๓๑ กรกฎาคม พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฯ องค์กรภาคประชาชน
๒๕๖๑ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบยุทธศาสตร์ ได้มีความเห็นต่อร่างพระราชบัญญัติฯ ในประเด็นส�าคัญ
การบริหารจัดการแร่ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) และ ๒ ประการ คือ เห็นควรให้มีการประเมินผลกระทบ
แผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ สิ่งแวดล้อมในระดับยุทธศาสตร์ และไม่เห็นด้วยกับ
ในหลักการตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ การอนุญาตให้มีการด�าเนินการจัดหาผู้รับจ้างก่อนรายงาน
สิ่งแวดล้อมเสนอ และให้กรมทรัพยากรธรณี ในฐานะ ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมจะได้รับความเห็นชอบ
ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติ
เร่งรัดกระบวนการแต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายบริหาร
จัดการแร่แห่งชาติชุดใหม่ตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. ๒๕๖๐
ให้แล้วเสร็จโดยเร็ว และให้น�าความเห็นและข้อสังเกตของ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน ใน ๓ ประเด็นที่อยู่ในความห่วงใย
ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเสนอต่อคณะกรรมการฯ เพื่อประกอบ
การพิจารณาความเหมาะสมในการปรับปรุงยุทธศาสตร์
การบริหารจัดการแร่ ๒๐ ปี และแผนแม่บทการบริหารจัดการแร่
ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติแร่
พ.ศ. ๒๕๖๐ และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ โดยให้ผู้มีส่วนได้
ส่วนเสียทุกภาคส่วน โดยเฉพาะภาคประชาชนที่อาศัยอยู่ใน
บริเวณเขตแหล่งแร่เข้ามามีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนด้วย
เพื่อให้การบริหารจัดการแร่เกิดดุลยภาพในทุกด้าน
ทั้งเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และสุขภาพของประชาชน
149