Page 149 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 149
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
๕.๑ สิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ภาพรวม
สิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ แห่งชาติรับทราบแผนการปฏิรูปประเทศดังกล่าวเมื่อวันที่
สิ่งแวดล้อมเป็นสิทธิที่ได้รับการรับรองในมาตรา ๔๓ ของ ๒๙ มีนาคม ๒๕๖๑
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
และมีความเกี่ยวข้องกับสิทธิในการมีส่วนร่วมในการบริหาร นอกจากนั้น ในส่วนของการด�าเนินการด้านกฎหมาย
รัฐกิจซึ่งเป็นสิทธิที่ได้รับการรับรองในข้อ ๒๕ ของกติกา และนโยบาย รัฐบาลได้แต่งตั้งคณะกรรมการด�าเนินการ
ICCPR ตลอดจนสิทธิของบุคคลที่จะมีคุณภาพชีวิตและ ปฏิรูปกฎหมายในระยะเร่งด่วนเพื่อด�าเนินงานตามกรอบ
สุขภาพที่ดีซึ่งเป็นสิทธิที่ได้รับการรับรองในข้อ ๑๑ และ ๑๒ การปฏิรูปประเทศและยุทธศาสตร์ชาติ โดยมีภารกิจ
ของกติกา ICESCR สิทธิดังกล่าวยังสอดคล้องกับหลักการ ในการพิจารณาปรับปรุงกฎหมายที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
ของปฏิญญาว่าด้วยสิทธิในการพัฒนาของสหประชาชาติ และเสนอกฎหมายใหม่ รวมทั้งเสนอให้ยกเลิกกฎหมายที่
ที่ระบุว่า บุคคลมีสิทธิที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาและ หมดความจ�าเป็นหรือเป็นอุปสรรคเพื่อมิให้เป็นภาระต่อประชาชน
ได้รับประโยชน์จากการพัฒนาที่เกิดขึ้น และรัฐมีหน้าที่ที่จะ ซึ่งคณะกรรมการดังกล่าวได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
ก�าหนดนโยบายการพัฒนาประเทศเพื่อให้ประชาชน หลายชุดรวมทั้งคณะอนุกรรมการพิจารณาปรับปรุงและ
มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นบนพื้นฐานของการมีส่วนร่วมของประชาชน พัฒนากฎหมายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
อย่างแท้จริง รวมทั้งมีหน้าที่ในการดูแลให้มีการกระจาย โดยคณะกรรมการฯ ได้เสนอความเห็นและร่างกฎหมาย
ประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเป็นธรรม ดังนั้น จึงถือเป็น ต่อรัฐบาลเพื่อด�าเนินการหลายฉบับ ที่ส�าคัญได้แก่
หน้าที่ของรัฐที่จะต้องประกันให้ชุมชนได้รับสิทธิดังกล่าว ร่างพระราชบัญญัติการมีส่วนร่วมของประชาชนในนโยบาย
สาธารณะ ร่างพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารสาธารณะ
ในปี ๒๕๖๑ มีความเคลื่อนไหวที่ส�าคัญในส่วนการด�าเนินการ ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพชีวิตสิ่งแวดล้อม
ของภาครัฐสืบเนื่องมาจากสถานการณ์ในปี ๒๕๖๐ ร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน รวมถึงร่างพระราชบัญญัติ
๒๒๗
คือการด�าเนินการตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย สิทธิชุมชน ซึ่งอยู่ในระหว่างด�าเนินการรับฟังความคิดเห็น
หมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ ซึ่งก�าหนดให้ด�าเนินการ เพื่อประมวลเสนอต่อคณะรัฐมนตรีด�าเนินการให้ทัน
ปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ ให้เกิดผล ต่อมาได้มีการตรา ในรัฐบาลชุดปัจจุบันต่อไป
พระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการด�าเนินการปฏิรูป
ประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐ มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม
๒๕๖๐ โดยก�าหนดให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการปฏิรูป
ประเทศด้านต่าง ๆ เพื่อรับผิดชอบในการจัดท�าแผน
การปฏิรูปประเทศแต่ละด้าน คณะรัฐมนตรีได้มีมติ
เมื่อวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๐ แต่งตั้งคณะกรรมการปฏิรูปประเทศ
ด้านต่าง ๆ จ�านวน ๑๑ คณะ รวมถึงคณะกรรมการ
ปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เพื่อรับผิดชอบในการด�าเนินการจัดท�าร่างแผนการปฏิรูปประเทศ
ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ก�าหนด
คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๑
เห็นชอบร่างแผนการปฏิรูปประเทศ และสภานิติบัญญัติ
๒๗๗ จาก บันทึกความเห็นและข้อเสนอแนะ, โดย ส�านักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย. สืบค้นจาก http://www.lrct.go.th/th/?page_id=/29436
148