Page 146 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 146
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
การประเมินสถานการณ์ ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะ
ประเทศไทยให้ความส�าคัญกับนักปกป้องสิทธิมนุษยชน ๑. รัฐควรเร่งพิจารณาร่างพระราชบัญญัติป้องกันและ
กระทรวงยุติธรรมโดยกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพเป็น ปราบปรามการทรมานและการกระท�าให้บุคคลสูญหาย
หน่วยงานหลักในการส่งเสริมและคุ้มครองนักปกป้อง พ.ศ. .... เพื่อให้มีการประกาศใช้บังคับโดยเร็ว และเพื่อเป็น
สิทธิมนุษยชนและมีการด�าเนินการหลายประการ ทั้งการ หลักประกันให้นักปกป้องสิทธิมนุษยชนได้รับการคุ้มครอง
จัดท�าคู่มือส�าหรับนักปกป้องสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งคณะ สิทธิดียิ่งขึ้น สอดคล้องกับค�ามั่นโดยสมัครใจภายใต้
ท�างานเพื่อคุ้มครองนักต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชนที่เสี่ยงต่อ กระบวนการ UPR รอบที่ ๒ ที่ก�าหนดให้มีการจัดท�า
การถูกละเมิด และที่ส�าคัญสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้ผ่าน มาตรการที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันความรุนแรงและ
ร่าง พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา การก่ออาชญากรรมต่อบุคคลเหล่านี้
ความอาญา (ฉบับที่ ...) พ.ศ. .... ซึ่งจะช่วยคุ้มครองนักปกป้อง
สิทธิมนุษยชนกรณีมีการฟ้องคดีโดยไม่สุจริตหรือฟ้อง ๒. กระทรวงยุติธรรม โดยกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
เพื่อกลั่นแกล้ง ประกอบกับมีการยกร่างพระราชบัญญัติ ควรก�าหนดให้มีมาตรการส่งเสริมและคุ้มครองนักปกป้อง
ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระท�าให้บุคคล สิทธิมนุษยชนไว้ในแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๔
สูญหาย พ.ศ. .... อันจะเป็นหลักประกันท�าให้นักปกป้อง (พ.ศ. ๒๕๖๒-๒๕๖๖)
สิทธิมนุษยชนได้รับการคุ้มครองมากยิ่งขึ้น การด�าเนินการ
เพื่อให้ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม ๓. กระทรวงยุติธรรมควรด�าเนินการแก้ไขระเบียบ บทที่ ๔
การทรมานและการกระท�าให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. .... มีความคืบหน้า คณะกรรมการกองทุนยุติธรรมว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
ที่ส�าคัญจากการที่สภานิติบัญญัติแห่งชาติได้ลงมติรับ เงื่อนไขในการขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ�าเลย
หลักการร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวแล้ว อย่างไรก็ตาม พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยการยกเลิกข้อความที่ให้อ�านาจ
ในแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑ คณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือค�านึงถึงสาเหตุหรือ
ไม่ได้ก�าหนดกลุ่มนักปกป้องสิทธิมนุษยชนไว้เป็นการเฉพาะ พฤติการณ์ของผู้ยื่นค�าร้องว่าเป็นผู้ที่น่าเชื่อว่ามิได้กระท�า
แม้ว่าในรายงานทบทวนสถานการณ์ของประเทศไทย ความผิดตามข้อกล่าวหาหรือไม่ เนื่องจากการก�าหนด
ภายใต้กระบวนการ UPR รอบที่ ๒ คณะรัฐมนตรีได้มีมติ หลักเกณฑ์ไว้เช่นนี้ถือเป็นการให้อ�านาจวินิจฉัยความผิด
ให้ค�ารับรองในส่วนที่เกี่ยวข้องกับนักปกป้องสิทธิมนุษยชน ของผู้ยื่นค�าขอรับความช่วยเหลือล่วงหน้าแทนศาล
ที่เสนอโดยประเทศต่าง ๆ ไว้หลายประการ รวมทั้ง อันเป็นสิ่งที่ไม่เหมาะสมและอาจเป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึง การประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของบุคคล ๕ กลุ่ม
๒๗๖
เมื่อพิจารณาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับนักปกป้องสิทธิมนุษยชน ความช่วยเหลือของประชาชนในการด�าเนินคดี
พบว่าในระยะหลังเกิดเหตุการณ์ฟ้องคดีนักปกป้อง
สิทธิมนุษยชนเพิ่มมากขึ้นและการช่วยเหลือโดยการให้เงิน
จากกองทุนยุติธรรมแก่นักปกป้องสิทธิมนุษยชน
ยังมีข้อจ�ากัดบางประการ
๒๗๖ จาก ข้อเสนอแนะที่ประเทศไทยได้รับและค�ามั่นโดยสมัครใจภายใต้กลไก Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ ๒. หน้าเดิม.
145