Page 111 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 111

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          ในภาคการประมง พ.ศ. ๒๕๕๐ (ค.ศ. ๒๐๐๗) โดยจุดมุ่งหมาย   งานอื่นที่ท�าในฟาร์ม เช่น งานธุรการ งานส�านักงาน
          ของอนุสัญญาฉบับนี้  คือ  การท�าให้มั่นใจว่าคนงาน    เป็นต้น โดยจะต้องน�าเสนอคณะกรรมการพิจารณา
          ประมงจะได้มีสภาพการท�างานที่มีคุณค่าบนเรือ          ร่างกฎหมายของกระทรวงแรงงานพิจารณาอีกครั้ง
          ประมงในเรื่องข้อก�าหนดขั้นต�่าในการท�างานบนเรือ     จึงจะประกาศเป็นกฎกระทรวงต่อไป   นอกจากนี้
                                                                                               ๑๙๒
          สภาพการปฏิบัติหน้าที่  ที่พักอาศัยและอาหาร          กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานยังได้ส่งเสริมให้
          การคุ้มครองความปลอดภัยและสุขภาพอนามัย               สถานประกอบการในอุตสาหกรรมแปรรูปเนื้อไก่
          ในการท�างาน การดูแลทางการแพทย์ และการประกันสังคม     เพื่อส่งออกน�าหลักปฏิบัติการใช้แรงงานที่ดี (Good Labour
                                                       ๑๘๘
          ถือเป็นความก้าวหน้าในการยกระดับมาตรฐาน              Practices: GLP) ส�าหรับอุตสาหกรรมฟาร์มและสถานที่

          การคุ้มครองดูแลแรงงานทั้งไทยและต่างชาติในภาคประมง   ฟักไข่สัตว์ปีกในประเทศไทยไปใช้เป็นแนวทางบริหาร
          ให้ดียิ่งขึ้นเทียบเท่ามาตรฐานสากล                   จัดการด้านแรงงาน เป็นต้น
                                        ๑๘๙

          • กรณีการแก้ไขปัญหาแรงงานข้ามชาติในอุตสาหกรรม       ๕. ความก้าวหน้าในการด�เนินการของภาคธุรกิจ

          สัตว์ปีก                                            ผู้ประกอบการในภาคเอกชนที่มีการน�ามาตรฐานสากล
          ผลจากรายงาน Trapped in the Kitchen of the World –    ด้านสิทธิมนุษยชนมาใช้ยังจ�ากัดอยู่ในบริษัทขนาดใหญ่
          the situation for migrant workers in Thailand’s     บริษัทที่เคยได้รับผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน หรือ
          poultry industry เมื่อปลายปี ๒๕๕๘   ๑๙๐  และเรื่อง  บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์  โดยข้อมูล

          ร้องเรียนที่มีมายัง  กสม.  ที่ผู้ร้องสัญชาติเมียนมา   จากส�านักงานคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และ
          กล่าวอ้างว่า มีการละเมิดสิทธิแรงงานและจ�ากัดเสรีภาพ  ตลาดหลักทรัพย์  ระบุถึง การด�าเนินการของส�านักงานฯ
                                                                           ๑๙๓
          ในการเดินทางซึ่ง กสม.ได้มีข้อเสนอแนะ/มาตรการ        เพื่อส่งเสริมให้บริษัทจดทะเบียน (บจ.) ค�านึงถึงเรื่อง
          การแก้ไขปัญหาไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๑๙๑  ท�าให้  สิทธิมนุษยชน  โดยส�านักงานฯ  ได้ออกประกาศ

          หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนมีความตระหนักใน            คณะกรรมการก�ากับตลาดทุน  เพื่อก�าหนดให้บริษัท
                                                                                       ๑๙๔
          การคุ้มครองสิทธิของแรงงานข้ามชาติมากยิ่งขึ้น เช่น    ที่ออกหลักทรัพย์เปิดเผยนโยบายและการด�าเนินงาน
          คณะพิจารณาร่างกฎหมายของกรมสวัสดิการและคุ้มครอง      ของบริษัทและบริษัทย่อยที่แสดงถึงความรับผิดชอบ
          แรงงานได้มีมติให้ออกกฎกระทรวงเพื่อคุ้มครองแรงงาน    ต่อสังคม  และเป็นส่วนหนึ่งในการด�าเนินธุรกิจปกติ

          ในการประกอบกิจการปศุสัตว์ โดยมีสาระส�าคัญ คือให้    ซึ่งครอบคลุมถึงการเคารพสิทธิมนุษยชนและการปฏิบัติ
          สะสมวันหยุดได้ไม่เกิน ๔ สัปดาห์ ทั้งนี้ เป็นไปตามมาตรา   ต่อแรงงานอย่างเป็นธรรมด้วย  โดยจะแสดงข้อมูล
          ๒๘  วรรคสองแห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน          ดังกล่าวในรายงานประจ�าปี (แบบ ๕๖-๒) แบบแสดง
          พ.ศ. ๒๕๔๑ อย่างไรก็ตาม กฎกระทรวงฉบับนี้ใช้บังคับเฉพาะ   รายการข้อมูลประจ�าปี (แบบ ๕๖-๑) แบบแสดงรายการ

          การท�างานในพื้นที่เลี้ยงสัตว์ปีกเท่านั้น ไม่ใช้บังคับกับ  ข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์  (แบบ  ๖๙-๑)  หรือ


          ๑๘๘  จาก อนุสัญญาฉบับที่ ๘๘ ว่าด้วยการท�างานในภาคการประมง ค.ศ. ๒๐๐๗, โดย กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ส�านักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กลุ่มงานมาตรฐานแรงงาน
          ระหว่างประเทศ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://ils.labour.go.th/2018/attachments/125_pact.pdf และ อนุสัญญาฉบับที่ ๑๘๘ ว่าด้วยการท�างานในภาคประมง ค.ศ. ๒๐๐๗
          (พ.ศ. ๒๕๕๐), โดย ส�านักพัฒนามาตรฐานแรงงาน, ๒๕๕๓. สืบค้นจาก http://ils.labour.go.th/2018/attachments/125_syllabus.pdf
          ๑๘๙  จาก “บิ๊กตู่” แถลงต่อ สนช. ยันอนุสัญญาฯ ๑๘๘ ส่งผลดีต่อแรงงานประมงไทยในระยะยาว, โดย กระทรวงแรงงาน, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://www.mol.go.th/content/
           77024/1543483218
          ๑๙๐  จาก เอ็นจีโอระบุมีการละเมิดสิทธิคนงานในโรงงานผลิตเนื้อไก่ของไทย, โดย ประชาไท, ๒๕๕๘. สืบค้นจาก https://prachatai.com/journal/2015/11/62653
          ๑๙๑  จาก รายงานผลการตรวจสอบส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ที่ ๑๑๔/๒๕๕๙ ลงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๙ ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ,
          โดย ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ๒๕๖๐.
          ๑๙๒  จาก หนังสือกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ที่ รง ๐๕๐๒/๖๕๒๘ ลงวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๖๑ เรื่อง รายงานความคืบหน้าการด�าเนินการในการยกร่างกฎกระทรวง
          คุ้มครองแรงงานในกิจการฟาร์มสัตว์ปีก กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน.
          ๑๙๓  จาก หนังสือส�านักงานคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กลต.สภ.๙๗๘/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๖๑ เรื่อง น�าส่งข้อมูลเพื่อประกอบการจัดท�า
          รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ส�านักงานคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์.
          ๑๙๔  จาก ประกาศคณะกรรมการก�ากับตลาดทุน ที่ ทจ.๔๔/๒๕๕๖ เรื่องหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการด�าเนินงานของ
          บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ลงวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๖๑ และประกาศคณะกรรมการก�ากับตลาดทุน ที่ ทจ.๓๐/๒๕๕๑ เรื่องการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์
          ลงวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๖๑ ส�านักงานคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์.


      110
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116