Page 115 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 115

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          ในล�าดับต้น ๆ ยังไม่พบว่ารัฐมีมาตรการคุ้มครองแรงงาน  ประกอบการพิจารณาจัดท�าแผน NAP โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
          เป็นการเฉพาะ นอกจากนี้ ในส่วนของการเข้าเป็นภาคี     การจัดท�าการประเมินข้อมูลพื้นฐานระดับชาติว่าด้วยเรื่อง
          อนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๘๗ ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคม    ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (NBA) เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ระบุถึง
          และการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว และฉบับที่ ๙๘        การวิเคราะห์ช่องว่างระหว่างกลไกคุ้มครองสิทธิมนุษยชน

          ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรอง นั้น   ในประเทศที่มีอยู่กับข้อก�าหนดในหลักการ  UNGPs
          ยังไม่มีความก้าวหน้าเท่าที่ควรเนื่องจากรัฐใช้ระยะเวลา  ก่อนที่จะจัดท�าร่างแผนฯ
          อย่างยาวนานในการพิจารณาด�าเนินการเพื่อเข้าเป็น
          ภาคีอนุสัญญาดังกล่าว                                ๒. กรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชนข้ามพรมแดน

                                                              ๑.  รัฐควรก�าหนดกลไกในการก�ากับดูแลการลงทุน
          ๕. กรณีความก้าวหน้าในการด�เนินการของภาคธุรกิจ       ในต่างประเทศของผู้ลงทุนสัญชาติไทยที่สอดคล้องกับ
          กสม. เห็นว่า รัฐได้ด�าเนินกิจกรรม/โครงการต่าง ๆ ร่วมกับ   หลักการ UNGPs ซึ่ง กสม. ได้เคยเสนอแนะไปยัง ครม.
          ภาคธุรกิจเพื่อให้การด�าเนินธุรกิจเคารพสิทธิมนุษยชน   เมื่อปี ๒๕๕๘ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้พิจารณาแล้ว

          โดยก�าหนดเป็นประกาศ/ระเบียบต่าง ๆ เพื่อให้ภาคธุรกิจ  เห็นด้วยกับข้อเสนอดังกล่าวในหลักการดังปรากฏข้างต้น
          ต้องด�าเนินการและรายงานเกี่ยวกับประเด็นสิทธิมนุษยชน
          จึงถือเป็นความก้าวหน้าในการด�าเนินการของรัฐ         ๒. ในกรณีที่เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนขึ้น รัฐรวมถึง
          อย่างไรก็ดี มาตรการดังกล่าวมีผลกับบริษัทขนาดใหญ่    รัฐวิสาหกิจควรพิจารณารูปแบบการเยียวยาที่มีความหลากหลาย

          และบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์  ซึ่งมัก      นอกเหนือจากการเยียวยาด้วยตัวเงิน อาทิ การกลับคืน
          ไม่รวมถึงธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม                  สู่สภาพเดิม (restitution) การจ่ายค่าสินไหมทดแทน
                                                              (compensation) การฟื้นฟู (rehabilitation) การท�าให้
          ข้อเสนอแนะ                                          พอใจ (satisfaction) และการประกันว่าจะไม่เกิดการ

          จากการประเมินสถานการณ์และปัญหาอุปสรรคข้างต้น        ละเมิดซ�้า (guarantee of non-repetition) นอกจากนี้
          กสม. มีข้อเสนอแนะดังนี้                             รัฐยังควรสนับสนุนให้มีกลไกอื่นที่มิใช่กลไกตามกระบวนการ
                                                              ยุติธรรม (non-judicial) เพื่อเป็นกลไกเสริมหรือสนับสนุน

          ๑. การจัดท�แผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจ      การเยียวยาให้แก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนด้วย
          กับสิทธิมนุษยชน (NAP)                               โดยกลไกดังกล่าวควรมีลักษณะตามที่ก�าหนดใน UNGPs
          กระทรวงยุติธรรมโดยกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ        กล่าวคือ มีความชอบธรรม (legitimate) เข้าถึงได้
          ควรน�าข้อเสนอแนะของ กสม. และคณะท�างานด้าน           (accessible)  คาดได้ล่วงหน้า  (predictable)
          สิทธิมนุษยชนกับบรรษัทข้ามชาติและองค์กรธุรกิจอื่น ๆ    มีความเป็นธรรม (equitable) โปร่งใส (transparent) และ

          ของสหประชาชาติ  ตลอดจนภาคประชาสังคม  ไป             สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน (rights-compatible)

























      114
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120