Page 112 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 112

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            รายงานความยั่งยืน นอกจากนี้ ยังให้ความร่วมมือกับ    ภูเก็ต  ป่าตอง  โรงแรมอันดารารีสอร์ท  เรสซิเด้นซ์
            หน่วยงานอื่นในการขับเคลื่อนงานด้านสิทธิมนุษยชนกับ   โรงแรมในยาง  ปาร์ค  รีสอร์ท  โรงแรมเดอะวิจิตร
            ภาคธุรกิจ อาทิ การน�ากรณีรายงานผลการตรวจสอบ         รีสอร์ท ภูเก็ต โรงแรมในเครือกะตะกรุ๊ป  ธนาคาร
                                                                                                    ๑๙๖
            ของ  กสม.   ไปรวมเป็นส่วนหนึ่งในการซักซ้อม          ไทยพาณิชย์ จ�ากัด (มหาชน)  บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย
                                                                                         ๑๙๗
                       ๑๙๕
            ความเข้าใจกับ บจ. ในเรื่องการเปิดเผยข้อมูล รวมทั้ง   จ�ากัด  (มหาชน)   บริษัท  ปตท.  ส�ารวจและผลิต
                                                                               ๑๙๘
            การซักซ้อมความเข้าใจในการด�าเนินงานกับผู้ประกอบธุรกิจ   ปิโตรเลียม จ�ากัด (มหาชน)  บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ากัด
                                                                                       ๑๙๙
            ที่อยู่ภายใต้การก�ากับดูแล                          (มหาชน) เป็นต้น



                                                                นอกจากนี้  ยังพบว่าภาคธุรกิจมีความตื่นตัวในการ
                                                                ด�าเนินการเพื่อคุ้มครองสิทธิแรงงานมากขึ้น ตัวอย่าง
                                                                ที่เห็นเป็นรูปธรรม อาทิ การด�าเนินการของสมาคม
                                                                อุตสาหกรรมทูน่าไทยด้านแรงงาน ซึ่งสมาชิกสมาคมฯ       บทที่ ๓

                                                                ได้ลงนามและปฏิบัติตามข้อตกลงด้านจริยธรรม
                                                                แรงงาน ๘ ข้อของสมาคม ได้แก่ ๑) เรื่องแรงงานเด็ก
                                                                ๒) เรื่องแรงงานบังคับ ๓) เรื่องอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
                                                                ๔) เรื่องเสรีภาพในการสมาคมและสิทธิในการร่วมเจรจา

                                                                ต่อรอง ๕) เรื่องการเลือกปฏิบัติ ๖) เรื่องการปฏิบัติ
                                                                ตามวินัย ๗) เรื่องค่าตอบแทน และ ๘) เรื่องสวัสดิการและ
                                                                สิทธิประโยชน์  และได้ด�าเนินการตามข้อก�าหนดของ
                                                                            ๒๐๐
                                                                ผู้ซื้อด้วย โดยจะมีการตรวจประเมินเป็นประจ�าทุกปี ๒๐๑



            ปัจจุบันมีองค์กรธุรกิจหลายองค์กรที่มีความตื่นตัวและ
            ตระหนักถึงความส�าคัญของการน�ากระบวนการประเมิน                                                           การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
            ผลกระทบสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (HRDD) ไปใช้

            ซึ่งส่วนใหญ่เป็นบริษัทขนาดใหญ่ที่มีบริษัทคู่ค้าและ
            บริษัทห่วงโซ่อุปทานจ�านวนมาก โดยมีการประกาศและ
            เผยแพร่นโยบายสิทธิมนุษยชนต่อสาธารณะ ตลอดจน
            น�าหลักการ HRDD ไปใช้จริง ตัวอย่างเช่น โรงแรม

            ในโครงการน�าร่องของ กสม. ที่จังหวัดภูเก็ตเพื่อส่งเสริม
            การน�าหลักการ UNGPs ไปใช้ อาทิ โรงแรมดีวาน่าพลาซ่า



            ๑๙๕  จาก รายงาน กสม. ๗ รายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย ที่ ๙๑๗/๒๕๕๘ ลงวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๘ เรื่อง เสรีภาพใน
            การถือศาสนา เสรีภาพในการปฏิบัติตามศาสนธรรม ศาสนบัญญัติและการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม กรณีการห้ามสตรีที่นับถือศาสนาอิสลามสวมฮิญาบ, โดย ส�านักงานคณะ
            กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.nhrc.or.th/NHRCT-Work/Research-papers(1)/Policy-recommendations.aspx
            ๑๙๖  ข้อมูลจากการประชุมติดตามผลการใช้คู่มือการประเมินผลสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (HRDD) และรายงานการตรวจสอบ (Check List) ของโรงแรมในโครงการน�าร่อง
            (Pilot Project) เมื่อวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๑ ณ โรงแรมดีวาน่า พลาซ่า ภูเก็ต ป่าตอง.
            ๑๙๗  จาก นโยบายสิทธิมนุษยชน ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ากัด (มหาชน), โดย ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ากัด (มหาชน), ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.scb.co.th/content/dam/scb/
            about-us/sustainability/documents/15june2018/th-human-rights-policy.pdf
            ๑๙๘  จาก นโยบายด้านสิทธิมนุษยชน (Human Rights Policy), โดย เอสซีจี, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.scg.com/pdf/th/HumanRightsTH.pdf
            ๑๙๙  จาก การปฏิบัติด้านแรงงานและสิทธิมนุษยชน, โดย บริษัท ปตท.ส�ารวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ากัด (มหาชน), ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.pttep.com/th/Sustainabledevelopment/
            Business/Labourpractices.aspx
            ๒๐๐  จาก รายงานการด�าเนินการของอุตสาหกรรมทูน่าไทย ในปี ๒๕๖๐ เพื่อต่อต้านการใช้แรงงานเด็ก แรงงานเด็ก แรงงานบังคับ และการค้ามนุษย์, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.thaituna.org/
            home/main/?page_id=846
            ๒๐๑  จาก Ethnical Standard สมาคมทูน่าประเทศไทย, โดย สมาคมทูน่าประเทศไทย, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.thaituna.org/home/ethical-standard.php


                                                                                                              111
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117