Page 107 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 107
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
รวมทั้งประเด็นที่เป็นข้อห่วงกังวลของภาคประชาสังคม ลาวพังทลาย ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชน
ซึ่งควรมีการก�าหนดไว้ในแผนฯ เช่น รัฐควรเคารพ ของประชาชนในพื้นที่ดังกล่าว ผู้ร้องให้ข้อมูลว่าบริษัท
สิทธิมนุษยชนในการด�าเนินโครงการต่าง ๆ ของรัฐ ที่สร้างเขื่อนเป็นบริษัทร่วมทุนซึ่งมีบริษัทไทยร่วมอยู่ด้วย
การบูรณาการหลักการ UNGPs ไว้ในแผนงานที่ส่งเสริม รวมทั้งมีธนาคารไทยเป็นผู้ให้ทุนสนับสนุน และ
หรือก�ากับดูแลการประกอบธุรกิจเพื่อให้มีการน�าไป มีรัฐวิสาหกิจของไทยเป็นผู้ซื้อหลัก ทั้งนี้ ภายหลังจากเกิด
ปฏิบัติ รวมทั้งมีระบบการติดตามผล การส่งเสริม เหตุการณ์ รัฐมนตรีกระทรวงพลังงานและเหมืองแร่ของ
ให้ผู้ประกอบการท�าการประเมินผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน สปป.ลาว ได้กล่าวระหว่างการแถลงข่าวที่นครหลวง
อย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence: เวียงจันทน์ว่า สาเหตุที่เขื่อนดินย่อยกั้นช่องเขาของ
HRDD) การปรับปรุงมาตรการในการตรวจสอบ เขื่อนเซเปียน-เซน�้าน้อยพังทลายลงมาจากการก่อสร้าง
การประกอบกิจการที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและ ที่ต�่ากว่ามาตรฐาน ซึ่งบริษัทไทยได้กล่าวแสดง
๑๘๐
ชุมชนให้มีประสิทธิผลยิ่งขึ้น การสร้างหลักประกัน ความเสียใจและมอบเงินสนับสนุนช่วยเหลือเบื้องต้น ๑,๓๐๐
ว่าผู้ประกอบการจะเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ ล้านกีบ (ประมาณ ๕ ล้านบาท) แก่ทางการ สปป.ลาว
๑๘๑
ด้านสิทธิมนุษยชนในระยะเวลาอันสมควร การปรับปรุง ขณะนี้เรื่องดังกล่าวอยู่ระหว่างการตรวจสอบของ กสม.
การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร กลไกการร้องทุกข์ การอ�านวย
ความสะดวกให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการร้องเรียน อนึ่ง ในกรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชนข้ามพรมแดนนี้
การมีมาตรการคุ้มครองนักปกป้องสิทธิมนุษยชน เป็นต้น กสม. เคยมีข้อเสนอแนะไปยัง ครม. เมื่อปี ๒๕๕๘
ตามรายงานผลการตรวจสอบเรื่องร้องเรียนกรณีโครงการ
๒. กรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชนข้ามพรมแดน ท่าเรือน�้าลึกและเขตเศรษฐกิจทวายว่า รัฐบาลควรมี
ที่ผ่านมา กสม. ได้รับเรื่องร้องเรียนกรณีการละเมิด การจัดตั้งกลไกหรือก�าหนดให้มีหน่วยงานที่รับผิดชอบ
สิทธิมนุษยชนข้ามพรมแดนที่เกิดจากการลงทุนของ การก�ากับดูแลการลงทุนในต่างประเทศของผู้ลงทุนไทย
บริษัทต่างประเทศในไทยและการลงทุนของบริษัทไทย โดยน�าหลักการ UNGPs มาเป็นกรอบในการด�าเนินการ
๑๘๒
ในประเทศเพื่อนบ้านเป็นระยะ ๆ ส�าหรับในปี ๒๕๖๑ ซึ่ง ครม. ได้มอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไป
กสม. ได้รับเรื่องร้องเรียนกรณีเขื่อนผลิตไฟฟ้าเซเปียน – พิจารณาศึกษาแนวทางและความเหมาะสมของข้อเสนอ
เซน�้าน้อยที่สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ดังกล่าว ผลการพิจารณาของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๑๘๐ จาก เขื่อนลาวแตก : รัฐมนตรีพลังงานลาว ชี้เขื่อนแตกเพราะก่อสร้างไม่ได้มาตรฐาน, โดย บีบีซี, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://www.bbc.com/thai/international-44936818
๑๘๑ จาก RATCH มอบเงิน ๑,๓๐๐ ล้านกีบให้ สปป.ลาว ช่วยเหลือเบื้องต้น เหตุเขื่อนเซเปียนแตก, โดย บริษัทบางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จ�ากัด (สถานีโทรทัศน์สีช่องสาม),
๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://news.ch3thailand.com/local/74179
๑๘๒ จาก หนังสือคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่ สม ๐๐๐๔/๑๓๘ ลงวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๕๘ เรื่องรายงานผลการพิจารณาค�าร้องที่มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (รายงาน
ผลการตรวจสอบที่ ๑๒๒๐/๒๕๕๘ ลงวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๘).
106