Page 108 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 108

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            สนับสนุนข้อเสนอของ กสม. ในหลักการ รวมทั้งเห็นควร    บางแห่ง อาทิ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
            ผลักดันให้ภาคเอกชนมีมาตรการส่งเสริมสิทธิมนุษยชน     แห่งประเทศไทย เริ่มน�าหลักการ HRDD มาใช้ในการ
            มากขึ้น โดยเฉพาะธุรกิจเอกชนที่ลงทุนในต่างประเทศ     ด�าเนินการ ซึ่งนับเป็นความก้าวหน้าอย่างส�าคัญในการ
            ซึ่งควรมีการศึกษาผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนของ         ด�าเนินการของรัฐวิสาหกิจในการเคารพสิทธิมนุษยชน

            โครงการ การจัดให้มีกลไกปรึกษาหารือและรับเรื่อง      สอดคล้องกับความเห็นของคณะท�างานด้านสิทธิมนุษยชน
            ร้องเรียนจากชุมชนที่อาจได้รับผลกระทบ รวมถึงการ      กับบรรษัทข้ามชาติและองค์กรธุรกิจอื่น  ๆ  ของ
            จัดท�ารายงานประจ�าปีที่เปิดเผยข้อมูลการด�าเนินการ   สหประชาชาติที่ระบุว่า  รัฐไม่เพียงแต่มีพันธกรณี
            เกี่ยวกับผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน เป็นต้น ตลอดจน     ที่จะต้องให้ความคุ้มครองจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน

            การมีกลไกติดตามผลการปฏิบัติตามหลักการ UNGPs ของ     โดยภาคธุรกิจเท่านั้น  แต่รัฐยังต้องท�าเป็นตัวอย่าง
            ภาคเอกชนด้วย  ๑๘๓                                   โดยดูแลให้รัฐวิสาหกิจเคารพสิทธิมนุษยชนด้วย


            ๓. การด�เนินการของรัฐวิสาหกิจ                       ส�าหรับความคืบหน้ากรณีการประท้วงโครงการ             บทที่ ๓

            สืบเนื่องจากงานสัมมนาวิชาการระดับชาติ               โรงไฟฟ้าถ่านหิน (กระบี่-เทพา) ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต
            เรื่อง “การเผยแพร่และการขับเคลื่อนหลักการชี้แนะว่าด้วย  แห่งประเทศไทย (กฟผ.) นั้น นายกรัฐมนตรีได้มีค�าสั่งชะลอ
            ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติในประเทศไทย”     โครงการโรงไฟฟ้าดังกล่าวไว้ก่อน โดยต่อมา เมื่อวันที่ ๒๐
            ที่จัดขึ้นโดย กสม. เมื่อปี ๒๕๖๐ นายกรัฐมนตรีได้สั่งการ   กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานได้

            ให้คณะกรรมการนโยบายและก�ากับดูแลรัฐวิสาหกิจ         ลงนามในบันทึกข้อตกลงร่วมกัน (MOU) โดยมีสาระ ดังนี้
            ขับเคลื่อน UNGPs โดยสร้างความเข้าใจหลักการ/วิธี     (๑)  ให้ถอนรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและ
            ปฏิบัติให้สอดคล้อง รวมถึงสร้างการรับรู้ในประเทศ/    สุขภาพ (EHIA) ของโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่และโรงไฟฟ้า
            ต่างประเทศ ดังนั้น ในปี ๒๕๖๑ กสม. จึงได้ร่วมมือ     ถ่านหินสงขลา (๒) กระทรวงพลังงานจะจัดท�ารายงาน

            กับส�านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ             การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์
            (สคร.) จัดการสัมมนาวิชาการเรื่อง “รัฐวิสาหกิจไทยสู่  (strategic environmental assessment : SEA)
            ต้นแบบการท�าธุรกิจที่เคารพสิทธิมนุษยชน” เมื่อวันที่    โดยผู้เชี่ยวชาญอิสระที่เป็นที่ยอมรับของทั้งสองฝ่าย   การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
            ๕  เมษายน  ๒๕๖๑  ที่โรงแรมเซ็นทรา  แจ้งวัฒนะ        เพื่อพิจารณาความเหมาะสมในการสร้างโรงไฟฟ้า

            โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ    ถ่านหินในพื้นที่เหล่านี้ และ (๓) กฟผ.จะต้องยุติโครงการ
            UNGPs  แก่รัฐวิสาหกิจและเพื่อส่งเสริมให้มีการน�า    โดยถาวร  หากผลรายงานการประเมินผลกระทบ
            หลักการดังกล่าวไปใช้ในทางปฏิบัติ  ในการประชุม       สิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ไม่ได้รับความเห็นชอบ
            ดังกล่าว ผู้บริหาร สคร. ได้ยืนยันถึงความส�าคัญของ

            หลักการ UNGPs ทั้ง ๓ ประการ และการด�าเนินธุรกิจ
            ที่เคารพสิทธิมนุษยชน  ซึ่งรวมถึงการท�าธุรกิจกับ
            กลุ่มคู่ค้าที่ไม่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน  นอกจากนี้
            ยังเห็นว่าหน่วยงานที่ก�ากับดูแลรัฐวิสาหกิจควรพิจารณา

            ปรับแนวปฏิบัติด้านธรรมาภิบาลของรัฐวิสาหกิจ
            ให้สอดคล้องกับแนวปฏิบัติที่เป็นที่ยอมรับในระหว่าง
            ประเทศด้วย  สะท้อนให้เห็นว่า  ภาครัฐวิสาหกิจ
            ได้ให้ความส�าคัญกับการลงทุนของรัฐวิสาหกิจให้เคารพ

            สิทธิมนุษยชนอย่างจริงจังมากขึ้น ทั้งนี้ ได้มีรัฐวิสาหกิจ

            ๑๘๓  หนังสือส�านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๕๐๗/๑๗๑๕๓ ลงวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๙ เรื่อง สรุปผลการพิจารณาการด�าเนินการตามรายงานผลการพิจารณาค�าร้อง
            ที่มีข้อเสนอแนะนโยบาย เรื่อง สิทธิชุมชน กรณีการด�าเนินโครงการท่าเรือน�้าลึกและเขตเศรษฐกิจทวาย ในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาของบริษัทอิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์
            จ�ากัด (มหาชน) ซึ่งประเทศไทยได้ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงในการพิจารณาโครงการดังกล่าว ที่มีการกระท�าที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อชาวทวาย.

                                                                                                              107
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113