Page 113 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 113
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
การประเมินสถานการณ์ ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะของ กสม.ที่มีต่อการจัดท�าแผนปฏิบัติการฯ
จากข้อมูลสถานการณ์ด้านธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน และคณะท�างานด้านสิทธิมนุษยชนกับบรรษัทข้ามชาติ
ในปี ๒๕๖๑ ที่ผ่านมา สามารถประเมินสถานการณ์ด้านธุรกิจ และองค์กรธุรกิจอื่น ๆ ของสหประชาชาติ การที่ระบุว่า
กับสิทธิมนุษยชนได้ ดังนี้ การท�ากระบวนการให้ถูกต้องเป็นสิ่งส�าคัญถึงแม้ว่าอาจ
จะต้องใช้เวลามากขึ้นก็ตาม นอกจากนี้ ภาคประชาสังคม
๑. การจัดท�แผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจ ยังมีความกังวลเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง
กับสิทธิมนุษยชน (NAP) ของภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะผู้ที่มีส่วนได้เสีย
รัฐมีความก้าวหน้าในการด�าเนินการเพื่อจัดท�าแผน ในกระบวนการจัดท�าร่างแผนฯ และในขั้นตอนการ
NAP โดยภายหลังจากการข้อเสนอแนะในกระบวนการ พัฒนาการประเมินข้อมูลพื้นฐานฯ
UPR เมื่อปี ๒๕๕๙ รัฐบาลได้ริเริ่มขั้นตอนใน
การจัดท�าแผนฯ อย่างรวดเร็ว มีการรับฟังความคิดเห็นจาก ๒. กรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชนข้ามพรมแดน
ผู้แทนภาคส่วนต่าง ๆ ตามที่ได้กล่าวข้างต้น อย่างไรก็ดี รัฐมีความตระหนักและเห็นความส�าคัญต่อการละเมิด
ยังพบความล่าช้าในการจัดท�าแผนฯ และมีประเด็น สิทธิมนุษยชนข้ามพรมแดน เช่น การก�าหนดให้เรื่อง
ที่เป็นข้อห่วงกังวล ได้แก่ การที่ยังไม่มีการจัดท�า นี้เป็นหนึ่งในสี่ประเด็นหลักของแผน NAP หรือการ
การประเมินข้อมูลพื้นฐานระดับชาติว่าด้วยเรื่องธุรกิจกับ ติดตามกรณีรัฐวิสาหกิจของไทยละเมิดสิทธิมนุษยชนใน
สิทธิมนุษยชน (NBA) ก่อนการจัดท�าร่างแผนปฏิบัติการฯ ต่างประเทศ เป็นต้น แต่รัฐยังไม่มีกลไกที่เป็นรูปธรรม
ซึ่งตามเอกสารขององค์กรระหว่างประเทศด้าน ในการควบคุมและก�ากับดูแลการประกอบธุรกิจ
สิทธิมนุษยชนหลายฉบับถือเป็นขั้นตอนแรกที่ส�าคัญ ลักษณะข้ามพรมแดน ไม่ว่าจะเป็นกลไกในลักษณะของ
ในการจัดท�าแผน NAP ทั้งนี้ NBA เป็นการศึกษาฐานข้อมูล การบังคับหรือความสมัครใจ
และการวิเคราะห์ช่องว่าง (national baseline study
and gap analysis) ระหว่างกลไกคุ้มครองสิทธิมนุษยชน นอกจากนี้ ในส่วนของการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ นั้น
ในประเทศที่มีอยู่กับข้อก�าหนดในหลักการชี้แนะฯ แม้จะมีการเยียวยาเมื่อมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้น
เพื่อสร้างฐานที่น่าเชื่อถือและโปร่งใส วางหมุดหมาย แต่ยังพบว่า รูปแบบของการเยียวยามักเป็นไปในรูปของ
(milestones) เชิงกลยุทธ์ที่ชัดเจน ซึ่งสอดคล้องกับ ตัวเงิน โดยไม่มีการเยียวยาในรูปแบบอื่นตามหลักการ
112