Page 106 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 106
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
หลักสิทธิมนุษยชนรวม ๑๒ ประเด็น เช่น ควรมีการจัดท�า กระทรวงอุตสาหกรรม ส�านักงานคณะกรรมการ
๑๗๖
รายงานการประเมินสภาพแวดล้อม สถานการณ์ส�าคัญ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส�านักงาน
ด้านธุรกิจ และกรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้น คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ส�านักงานส่งเสริมวิสาหกิจ
ทั้งในประเทศและต่างประเทศที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย ขนาดกลางและขนาดย่อม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
รวมทั้งการศึกษาประเด็นปัญหาและช่องว่างและ เพื่อศึกษาแนวทางและความเหมาะสมของข้อเสนอ
การประเมินแนวโน้มสถานการณ์ด้านธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ดังกล่าว โดยเมื่อวันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๖๑ ครม. ได้มี
และปัญหาส�าคัญที่เกิดขึ้นภายในประเทศ (National มติรับทราบตามที่กระทรวงพาณิชย์รายงานสรุปผล
Baseline Assessment Baseline Assessment on การด�าเนินการเกี่ยวกับรายงานสรุปผลการพิจารณา
Business and Human Rights : NBA) ควรก�าหนด ข้อเสนอแนะมาตรการฯ ของ กสม.ที่ได้พิจารณาร่วมกับ
หลักเกณฑ์เบื้องต้นที่องค์กรธุรกิจที่ตั้งอยู่ในดินแดนหรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๑๗๙
เขตอ�านาจอธิปไตยของไทยต้องปฏิบัติตามหลักการ
ชี้แนะฯ และพิจารณาระบุแผนงานในการจัดตั้งกลไกหรือ ๓. กสม. ได้จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “บทบาทของ บทที่ ๓
ก�าหนดภารกิจการก�ากับดูแลการลงทุนในต่างประเทศของ ภาคประชาสังคมต่อการจัดท�าแผนปฏิบัติการระดับชาติ
ผู้ลงทุนสัญชาติไทยให้เคารพต่อหลักการสิทธิมนุษยชน ว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน” ร่วมกับกรมคุ้มครองสิทธิ
ควรระบุหลักประกันที่จะท�าให้รัฐวิสาหกิจเป็นผู้น�าในการ และเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ
เคารพและส่งเสริมการท�าธุรกิจที่เคารพสิทธิมนุษยชน โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ และส�านักงาน
ควรระบุถึงกลไกการเยียวยานอกกระบวนการยุติธรรม ข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติประจ�า
ของรัฐและกฎหมายว่าด้วยการเยียวยานอกกระบวนการ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม
ยุติธรรม กลไกการร้องทุกข์นอกกระบวนการยุติธรรม ๒๕๖๑ ที่โรงแรมไมด้า กรุงเทพฯ เพื่อเป็นเวทีให้ภาค
ที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสม เป็นต้น ซึ่งต่อมา ประชาสังคมได้เสนอข้อคิดเห็นต่อการจัดท�าแผน NAP
๑๗๗
ส�านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้มีหนังสือถึงประธาน กสม.
๑๗๘
แจ้งว่า รองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) สั่งและ
ปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรีได้มีค�าสั่งมอบหมาย การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
ให้กระทรวงพาณิชย์เป็นหน่วยงานหลักในการรับเรื่องนี้
ไปพิจารณาร่วมกับกระทรวงการคลัง กระทรวง
การต่างประเทศ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุติธรรม
๑๗๖ จาก หนังสือคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ที่ สม ๐๐๐๙/๙๓ ลงวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๖๑ เรื่อง ข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิ
มนุษยชน ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.
๑๗๗ จาก รายงาน กสม.๓ ข้อเสนอแนะตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๔๗ (๓) ข้อเสนอแนะที่ ๒/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๑,
โดย ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.nhrc.or.th/NHRCT-Work/Research-papers(1)/Policy-recommendations.aspx
๑๗๘ จาก หนังสือส�านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร ๐๕๐๕/๑๔๒๑๔ ลงวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๑ เรื่อง ข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและ
คุ้มครองสิทธิมนุษยชน กรณีการจัดท�าแผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (NAP), โดย ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก
http://www.nhrc.or.th/businessandhumanrights/Data.aspx
๑๗๙ ครม. ได้มีมติรับทราบตามที่กระทรวงพาณิชย์รายงานสรุปผลการด�าเนินการเกี่ยวกับรายงานสรุปผลการพิจารณาข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและ
คุ้มครองสิทธิมนุษยชน กรณีการจัดท�าแผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนของ กสม.ที่ได้พิจารณาร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และแจ้งให้ กสม.ทราบด้วย ดังนี้
๑. ที่ประชุมเห็นชอบตามข้อเสนอแนะของ กสม.ทั้ง ๑๒ ประเด็น ซึ่งครอบคลุมการจัดท�านโยบายว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน การน�านโยบายไปสู่การปฏิบัติโดยค�านึงถึง
ปัญหาอุปสรรคและข้อท้าทาย การก�าหนดให้รัฐวิสาหกิจเป็นผู้น�าในการส่งเสริมการท�าธุรกิจที่เคารพสิทธิมนุษยชน รวมถึงแนวทางมาตรการแก้ไขปัญหาช่องว่างทางกฎหมายและ
กระบวนการทางการปกครองที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม การมีกลไกเยียวยาและร้องทุกข์นอกกระบวนการยุติธรรมของรัฐที่มีประสิทธิภาพ และเห็นควร
ส่งข้อเสนอแนะดังกล่าวให้กระทรวงยุติธรรมที่เป็นเจ้าภาพหลักในการจัดท�าแผน NAP น�าไปประกอบการจัดท�าแผนดังกล่าวให้มีความชัดเจนและสอดคล้องกับ UNGPs มากยิ่งขึ้น
อันจะน�าไปสู่การยกระดับการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประเทศในระยะยาวต่อไป
๒.ที่ประชุมได้มีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เช่น การก�าหนดค�านิยาม “กลุ่มเปราะบาง” ให้มีความชัดเจน การก�าหนดหน่วยงานที่รับผิดชอบควรพิจารณาหน่วยงานอื่น ๆ ที่มี
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในการประกอบธุรกิจเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบด้วย และการวางแนวทางการติดตามประเมินผลการด�าเนินงานอย่างต่อเนื่อง
เพื่อวัดประสิทธิภาพของแผน.
105