Page 116 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 116

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            ๓.  รัฐควรร่วมกับสมาคมธนาคารไทย  สนับสนุน           ๔. กรณีเกี่ยวกับสิทธิแรงงาน
            ให้ธนาคารน�าหลักการอันเกี่ยวเนื่องกับสิทธิมนุษยชน   ๑.  รัฐควรให้ความส�าคัญกับการป้องกันปัญหาการ
            อาทิ การพิจารณาความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และ   ละเมิดสิทธิแรงงานในอุตสาหกรรมประเภทอื่น  ๆ
            ธรรมาภิบาล (environmental, social and governance    นอกเหนือจากอุตสาหกรรมประมงทะเล และอุตสาหกรรม

            risks – ESG Risks) หรือมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม       สัตว์ปีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมที่มีความเสี่ยง
            และสังคมที่ยั่งยืน  มาเป็นเงื่อนไขในการพิจารณา      ต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชน เพื่อคุ้มครองแรงงานให้ได้
            ปล่อยสินเชื่อให้แก่ลูกหนี้ เพื่อเป็นหลักประกันอย่างหนึ่ง   รับการปฏิบัติอย่างเป็นธรรมและเพื่อสร้างความเชื่อมั่น
            ในการลดความเสี่ยงในการด�าเนินโครงการไม่ให้มีการ     ให้แก่คู่ค้าในต่างประเทศ

            ละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้น
                                                                ๒. รัฐควรพิจารณาเรื่องการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา ILO
            ๓. การด�เนินการของรัฐวิสาหกิจ                       ฉบับที่ ๘๗ และ ๙๘ เป็นวาระเร่งด่วนเพื่อเป็นการ
            ๑. รัฐโดยรัฐวิสาหกิจควรแสดงบทบาทการเป็นผู้น�าที่ดี  แสดงเจตนารมณ์ที่จะมุ่งมั่นคุ้มครองสิทธิแรงงานอย่าง  บทที่ ๓

            ของภาคธุรกิจในการด�าเนินการตามหลักการ UNGPs         แท้จริง ทั้งนี้ สนช. ควรเร่งการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
            อาทิ  การน�าร่องในการน�าหลักการ  HRDD  มาใช้        แรงงานสัมพันธ์  พ.ศ.  ....  และร่างพระราชบัญญัติ
            ในกิจการของรัฐวิสาหกิจ รวมถึงอาจพิจารณาก�าหนดให้    แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. .... ให้แล้วเสร็จโดยเร็ว
            ผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนเป็นตัวชี้วัดในการด�าเนินการ   นอกจากนี้ กระทรวงแรงงานยังควรมีแผนการด�าเนินงาน

            ของรัฐวิสาหกิจต่าง ๆ                                ภายหลังจากการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาให้ชัดเจน
                                                                อย่างไรก็ดี แม้ปัจจุบันประเทศไทยยังมิได้เข้าเป็นภาคี
            ๒.  รัฐโดยคณะกรรมการนโยบายและก�ากับดูแล             อนุสัญญาฉบับดังกล่าว แต่รัฐควรน�าแนวทางในการ
            รัฐวิสาหกิจ  ควรมีการจัดเก็บข้อมูลการละเมิดและ      ด�าเนินงานเกี่ยวกับแรงงานของภาคธุรกิจ อาทิ สมาคม

            ความเสี่ยงที่จะละเมิดสิทธิมนุษยชนของรัฐวิสาหกิจ ทั้งนี้    อุตสาหกรรมทูน่าไทย  มาเป็นต้นแบบในการปฏิบัติ
            เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการปรับปรุงการด�าเนินการ  ต่อแรงงาน เพื่อคุ้มครองสิทธิของแรงงานไปพลางก่อน
            ของรัฐวิสาหกิจให้เคารพสิทธิมนุษยชนต่อไป รวมทั้ง                                                         การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
            ควรพิจารณาก�าหนดให้มีตัวชี้วัดด้านสิทธิมนุษยชน      ๕. กรณีการด�เนินการของภาคธุรกิจ

            ในการด�าเนินงานด้วย                                 รัฐควรมีมาตรการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
                                                                หลักการ UNGPs แก่ผู้ประกอบการเอกชนในวงกว้าง
                                                                และส่งเสริมให้ภาคธุรกิจทุกประเภทและทุกขนาดธุรกิจ
                                                                น�าหลักการ  UNGPs  ไปใช้  รวมถึงการท�า  HRDD

                                                                เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชน
                                                                จากการประกอบกิจการ























                                                                                                              115
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121