Page 114 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 114
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
สิทธิมนุษยชน อาทิ การท�าให้คืนสู่สภาพเดิม (restitution) ๔. กรณีเกี่ยวกับสิทธิแรงงาน
การจ่ายค่าสินไหมทดแทน (compensation) การฟื้นฟู รัฐให้ความส�าคัญกับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
(rehabilitation) การท�าให้พอใจ (satisfaction) และ ของแรงงานทั้งแรงงานไทยและแรงงานข้ามชาติ ดังจะเห็น
การประกันว่าจะไม่เกิดการละเมิดซ�้า (guarantee of ได้จากการออกนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
non-repetition) มาตรการ หรือแนวปฏิบัติต่าง ๆ เพื่อคุ้มครองสิทธิ
ของแรงงานมากขึ้น จึงถือว่า รัฐมีความก้าวหน้าในการ
๓. กรณีการด�เนินการของรัฐวิสาหกิจ ด�าเนินการเรื่องนี้อย่างต่อเนื่อง ส�าหรับภาคธุรกิจพบว่า
แม้รัฐจะเริ่มมีความตื่นตัวในการให้รัฐวิสาหกิจด�าเนิน การให้ความส�าคัญกับสิทธิของแรงงานมีมากขึ้นในภาคธุรกิจ
กิจการบนหลักการสิทธิมนุษยชนโดยให้ความส�าคัญ บางกลุ่ม อาทิ บริษัทขนาดใหญ่ บริษัทที่เคยได้รับ
กับการน�าหลักการ UNGPs มาใช้ ซึ่งถือเป็น ผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน หรือบริษัทที่จดทะเบียน
ความก้าวหน้าประการหนึ่ง และมีหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ในตลาดหลักทรัพย์
บางแห่งตระหนักถึงการด�าเนินการบนหลักสิทธิมนุษยชน บทที่ ๓
โดยการน�าหลักการ HRDD มาใช้ ซึ่งแม้จะเป็น ส�าหรับกรณีของแรงงานข้ามชาติพบว่า รัฐบาล
ความก้าวหน้าที่ส�าคัญ แต่ยังถือว่าเป็นสัดส่วนที่น้อยมาก ให้ความส�าคัญกับการแก้ไขปัญหาในอุตสาหกรรมประมงทะเล
เมื่อเปรียบเทียบกับจ�านวนรัฐวิสาหกิจทั้งหมด เนื่องจาก เป็นล�าดับต้น โดย สนช. ได้เห็นชอบให้กระทรวงแรงงาน
UNGPs ได้ระบุถึงบทบาทของรัฐในการมีมาตรการ ด�าเนินการให้สัตยาบันอนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๑๘๘
เพื่อป้องกันมิให้มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยองค์กร ว่าด้วยการท�างานในภาคการประมง พ.ศ. ๒๕๕๐
ธุรกิจที่รัฐเป็นเจ้าของหรือควบคุมโดยตรง (รัฐวิสาหกิจ) (ค.ศ. ๒๐๐๗) และเริ่มมีความก้าวหน้าในการแก้ไขปัญหา
รัฐจึงควรแสดงบทบาทน�าในเรื่องนี้ให้มากขึ้น นอกจากนี้ แรงงานข้ามชาติในอุตสาหกรรมสัตว์ปีก แต่ในส่วน
รัฐยังขาดการรวบรวมข้อมูลสถิติที่จะสามารถระบุได้ว่า ของแรงงานข้ามชาติในอุตสาหกรรมประเภทอื่น อาทิ
รัฐวิสาหกิจใดที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนและมี อุตสาหกรรมก่อสร้าง กิจการภาคเกษตร กิจการ
ความเสี่ยงที่จะละเมิดสิทธิมนุษยชน เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐาน ให้บริการอื่น ๆ ซึ่งเป็นประเภทกิจการที่มีแรงงานข้ามชาติ
ในการปรับปรุงการด�าเนินการของรัฐวิสาหกิจต่อไป สัญชาติเมียนมา ลาว และกัมพูชา เข้ามาท�างาน การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
113