Page 105 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 105

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          กระทรวงยุติธรรมได้ด�าเนินกระบวนการการจัดท�าแผน      ๑. คณะท�างานด้านสิทธิมนุษยชนกับบรรษัทข้ามชาติ
          NAP อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี ๒๕๖๐ จนถึงปี ๒๕๖๑       และองค์กรธุรกิจอื่น  ๆ  ของสหประชาชาติได้ให้
          ทั้งการรวบรวมข้อมูลสถานการณ์ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน   ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ  ว่าในการจัดท�าแผนฯ
                                                                                      ๑๗๕
          ในระดับพื้นที่  การจัดประชุมกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ       จ�าเป็นต้องมีการด�าเนินการเพิ่มเติมเพื่อให้มั่นใจได้ว่า

          เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมินสถานการณ์และ   ฝ่ายต่าง ๆ สามารถเข้าถึงและมีส่วนร่วมอย่างกว้างขวาง
          การจัดท�าแผนฯ การหารือกับคณะท�างานด้านสิทธิมนุษยชน   เช่น เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการจัดท�าแผนฯ
          กับบรรษัทข้ามชาติและองค์กรธุรกิจอื่น  ๆ             บนเว็บไซต์ของกระทรวง การเปิดรับฟังข้อมูลและความคิดเห็น
          ของสหประชาชาติ (UN Working Group on the issues      และการท�างานร่วมกับกลุ่มประชาสังคมและธุรกิจ

          of human rights and transnational corporations      ที่กว้างขวาง  และควรเน้นความส�าคัญของแผนฯ
          and  other  business  enterprises)  ตลอดจน          โดยให้ความสนใจเป็นพิเศษกับเสาหลักที่สามของหลักการชี้แนะ
          การประชุมกับภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อวิพากษ์ร่างแผนฯ และ   เรื่องสิทธิมนุษยชนส�าหรับธุรกิจขององค์การสหประชาชาติ
          การรับฟังความเห็นต่อร่างแผนฯ  ผ่านทางเว็บไซต์       (การเข้าถึงการเยียวยา) และมิติทางเพศสภาพ ตลอดจน

          ของกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพและไปรษณีย์ ร่างแผน    การเชื่อมโยงแผนฯ  กับความริเริ่มที่เกี่ยวข้องอื่น  ๆ
          NAP ที่กระทรวงยุติธรรมจัดท�าขึ้นได้ก�าหนดประเด็นส�าคัญ    เช่น คณะท�างานว่าด้วยเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
          (key priority area) ๔ เรื่อง ได้แก่ (๑) แรงงาน      ที่ประกอบด้วยหลายฝ่ายที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นไม่นานมานี้
          (๒) ชุมชน ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม    นอกจากนี้ ยังเห็นว่าการท�ากระบวนการให้ถูกต้องเป็น

          (๓) นักปกป้องสิทธิมนุษยชน และ (๔) การลงทุนระหว่าง   สิ่งส�าคัญถึงแม้ว่าอาจจะต้องใช้เวลามากขึ้นก็ตาม
          ประเทศและบรรษัทข้ามชาติ  โดยในแผนฯ  จะระบุ
          ถึงแนวทางในการส่งเสริมการขับเคลื่อนแผนฯ  ไปสู่      ๒. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ได้มีหนังสือ
          การปฏิบัติ ตลอดจนการติดตามและประเมินผลด้วย          ถึงนายกรัฐมนตรี เพื่อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทาง

          ทั้งนี้  ฝ่ายต่าง  ๆ  ได้มีข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ   ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน  เกี่ยวกับ
          ต่อร่างแผน NAP ดังนี้                               กระบวนการจัดท�าแผน  NAP  เพื่อให้สอดคล้องกับ
































          ๑๗๕  จาก เอกสารแถลงการณ์เมื่อสิ้นสุดการเยือนประเทศไทยโดยคณะท�างานสหประชาชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน กรุงเทพฯ ๔ เมษายน ๒๕๖๑ คณะท�างานสหประชาชาติ
          ว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ส�านักงานข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ, โดย ส�านักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งองค์การสหประชาชาติ, ๒๕๖๑, กรุงเทพฯ:
          ส�านักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งองค์การสหประชาชาติ.




      104
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110