Page 59 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 59

35


               บุตรสาวของผู้ร้องไม่ผ่านการสอบคัดเลือกนั้นเป็นผลจากคะแนนสอบ ไม่เกี่ยวข้องกับปานบนใบหน้าแต่

               อย่างใด จึงไมํปรากฏวํามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนของบุตรสาวผู๎ร๎อง แตํเพื่อยุติข๎อขัดแย๎งที่เกิดขึ้น
               คณะอนุกรรมการฯได๎จัดให๎ผู๎ร๎องและผู๎ถูกร๎องเจรจาไกลํเกลี่ยกันจนได๎ข๎อยุติ โดยทาง ผู๎บัญชาการดุริยางค๑

               ทหารบก (ผบ.คย.ทบ.) ยินดีให๎ความชํวยเหลือบุตรสาวของผู๎ร๎องดังนี้

                       1) ชํวยเหลือ คํารักษาพยาบาลเบื้องต๎นจ านวน 20,000 บาท
                       2) ในการรักษาใบหน๎าของลูกสาวผู๎ร๎องแตํละครั้งตํอเนื่องเป็นระยะเวลา 1 ปี นับจาก กันยายน 2556

               - 30กันยายน 2557 ผบ.ดย.ทบ. รับวําจะจํายคํารักษาตามจริงไมํเกินครั้งละ 3,000 บาท โดยต๎องน าใบเสร็จ

               มาเบิก
                       3) ผบ.ดย.ทบ. รับวําจะชํวยเหลือเรื่องการประสานการเรียนดนตรีของบุตรสาวผู๎ร๎องและสนับสนุน

               คําใช๎จํายเรียนดนตรีสัปดาห๑ละ 1 วันๆ ละ 2 ชั่วโมง 600 บาทตํอวันเพื่อพัฒนาความสามารถของบุตรสาวผู๎
               ร๎องจนถึงสิ้นปี 2556

                       ผู๎ร๎องยินดีและท าบันทึกตกลงไว๎เป็นหลักฐาน ตามมาตรา 27 แหํง พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิ
               มนุษยชนแหํงชาติ พ.ศ. 2542 จึงเห็นควรให๎ยุติเรื่อง

                       อยํางไรก็ตาม คณะอนุกรรมการฯ ได๎ตั้งข๎อสังเกตเกี่ยวกับระเบียบกองทัพบกวําด๎วยดุริยางค๑ทหารบก

               พ.ศ. 2553 ตามผนวกข๎อ 3 เกี่ยวกับบัญชีโรคหรือความผิดปกติหรือความพิการซึ่งขัดตํอการเป็นนักเรียน
               ดุริยางค๑ทหารบก ข๎อยํอย 3.1.1.3 ซึ่งระบุวํา “แผลเป็นหรือปานที่หน้ามีเนื้อที่ตั้งแต่ 1.5ตารางนิ้วขึ้นไป

               หรือมีความยาวมากจนดูหน้าเกลียด” เป็นระเบียบที่อาจท าให้เกิดการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม จึงมี

               ความเห็นเสนอไปยังกองทัพบก เพื่อพิจารณาทบทวนระเบียบดังกลําวให๎เหมาะสม และสอดคล๎องกับหลักการ
               ความเสมอภาคซึ่งรับรองไว๎ตามรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 30 ตํอไป

                       คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ พิจารณาค าร๎องและความเห็นของคณะอนุกรรมการฯแล๎วเห็น
               วํา การที่บุตรสาวของผู๎ร๎องไมํผํานการสอบคัดเลือกเป็นผลจากคะแนนสอบข๎อเขียน มิใชํเพราะเหตุมีปานบน

               ใบหน๎า บุตรสาวผู๎ร๎องจึงไมํถูกละเมิดสิทธิและเสรีภาพในการศึกษาแตํอยํางใด ประกอบเพื่อยุติความขัดแย๎งผู๎
               ร๎องและผู๎ถูกร๎องได๎เจรจาไกลํเกลี่ยกันได๎ข๎อยุติ และได๎จัดท าบันทึกข๎อตกลงไว๎เป็นหลักฐานแล๎ว ตามมาตรา 27

               พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ พ.ศ. 2542 จึงไมํมีการกระท าละเมิดสิทธิมนุษยชน

               เกิดขึ้น
                       กรณีระเบียบกองทัพบกวําด๎วยกองทัพบกวําด๎วยดุริยางค๑ทหารบก พ.ศ. 2553 ตามผนวกข๎อ 3

               เกี่ยวกับบัญชีโรคหรือความผิดปกติหรือความพิการซึ่งขัดตํอการเป็น นักเรียนดุริยางค๑ทหารบก ข๎อยํอย

               3.1.1.3 ซึ่งระบุวํา “แผลเป็นหรือปานที่หน๎ามีเนื้อที่ตั้งแตํ 1.5 ตารางนิ้วขึ้นไป หรือมีความยาวมากจนดูหน๎า
               เกลียด”  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติเห็นวํา อาจท าให้เกิดการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม จึงเห็น

               ควรมีข้อเสนอแนะไปยังกองทัพบก เพื่อพิจารณาทบทวนระเบียบดังกล่าว ให๎มีความเหมาะสม และ
               สอดคล๎องกับหลักการความเสมอภาคซึ่งรับรองไว๎ตามรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา

               30 ตํอไป
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64