Page 61 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 61

37


               บ๎านพักครูโรงเรียนในจังหวัดตาก เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2553 แตํส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น

               พื้นฐานมีมติไมํจํายเงินชดเชยความเสียหายจากกรณีดังกลําวให๎กับครอบครัวผู๎ร๎องทั้งสาม
                       คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติพิจารณาและมอบหมายให๎ คณะอนุกรรมการตรวจสอบการ

               ละเมิดสิทธิมนุษยชนด๎านเด็ก สตรี ผู๎สูงอายุ ผู๎พิการ และความเสมอภาคของบุคคล ด าเนินการตรวจสอบ

               (รายงานผลการพิจารณา ที่ 632/2558) ได๎รับการชี้แจงจากส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย๑
               จังหวัดตาก ดังนี้

                       ข๎อ 1 ส านักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดตาก เขต 1 ได๎ชี้แจงวํา ทางส านักงานฯ ได๎

               ชํวยเหลือและอ านวยความสะดวกเบื้องต๎น ดูแล และเยี่ยมนักเรียนที่บาดเจ็บ รํวมงานศพนักเรียนที่เสียชีวิต
               ประสานสํวนงานราชการและหนํวยงานตํางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน น าเงินบริจาคชํวยเหลือผู๎ปกครองรายละ

               หนึ่งแสนเศษ
                       ข๎อ 2 ได๎แตํงตั้งคณะกรรมการสอบข๎อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ตามพระราชบัญญัติความรับผิด

               ทางละเมิดของเจ๎าหน๎าที่ พ.ศ. 2539 ผลการสอบข๎อเท็จจริงไมํปรากฏวําเหตุไฟไหม๎เกิดจากความจงใจ หรือ
               ประมาทเลินเลํอของเจ๎าหน๎าที่ และได๎รายงานให๎กระทรวงการคลังพิจารณา กระทรวงการคลังโดย

               กรมบัญชีกลาง แจ๎งวําให๎รอผลค าพิพากษาของศาลจังหวัดตากที่ผู๎ปกครองนักเรียนฟูองคดีให๎ส านักงานพื้นที่

               การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดตาก เขต 1 ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ
               กระทรวงศึกษาธิการ ชดใช๎คําเสียหาย

                       ข๎อ 3 ผู๎ปกครองของนักเรียนที่เสียชีวิตและได๎รับบาดเจ็บท าหนังสือยื่นขอเงินชดเชย แตํส านักงาน

               การศึกษาขั้นพื้นฐานแจ๎งวําไมํสามารถจํายคําชดเชยได๎เพราะเหตุเพลิงไหม๎ครั้งนี้มิได๎เกิดขึ้นเพราะความ
               ประมาทเลินเลํอของเจ๎าหน๎าที่โรงเรียน ไมํมีผู๎ที่ต๎องรับผิดทางละเมิด

                       คณะอนุกรรมการฯ พิจารณาแล๎วเห็นวํา การศึกษาเป็นเรื่องที่รัฐต๎องจัดท าบริการสาธารณะ การที่
               บุคคลเข๎าไปภายในพื้นที่ที่เป็นแหลํงบริการสาธารณะ เป็นความรับผิดชอบของรัฐ ซึ่งรวมถึงความปลอดภัย

               ของชีวิตรํางกาย ทรัพย๑สิน ในพื้นที่ที่เกิดเหตุและหนํวยงานรัฐที่เกี่ยวข๎องมีหน๎าที่ระมัดระวัง (Duty of Care)
               ดังนั้นพื้นที่บริเวณโรงเรียนก็เป็นหน๎าที่ของรัฐที่ต๎องดูแลสอดสํองให๎ความปลอดภัยตํอเด็กนักเรียน เนื่องจาก

               การให๎การศึกษาไมํใชํเพียงการเรียนการสอนเทํานั้น หมายรวมถึงการดูแลความปลอดภัยให๎เด็กด๎วย เมื่อ

               ข๎อเท็จจริงปรากฏวําโรงเรียนจัดอาหารและที่พักให๎เด็กในระยะที่ศึกษาอยูํ เชํนนี้เป็นการยอมรับวําโรงเรียนมี
               หน๎าที่ตามหลัก  “Duty  of  Care”  แล๎ว นอกจากนี้ยังอาจพิจารณาวําบุคลากรของโรงเรียน ก็มีลักษณะเป็น

               ผู๎ปกครอง ตามนิยามมาตรา 4 ให๎ความหมายไว๎ “ผู๎ซึ่งรับเด็กไว๎อุปการะเลี้ยงดูหรือซึ่งเด็กนั้นอาศัยอยูํด๎วย”

               และเมื่อเป็นผู๎ปกครองของเด็กยํอมมีหน๎าที่ตามนัยมาตรา 23 แหํงพระราชบัญญัติคุ๎มครองเด็ก พ.ศ. 2546
               โดยต๎องคุ๎มครองสวัสดิภาพเด็กที่อยูํในความปกครองดูแลไมํให๎ตกอยูํในภาวะอันนําจะเกิดอันตรายแกํรํางกาย

               หรือจิตใจ
                       ในกรณีนี้แม๎บุคลากรของโรงเรียนจะไมํต๎องรับผิดตํอสํวนตัว แตํเนื่องจากการจัดการศึกษาเป็นการ

               บริการสาธารณะอันเป็นหน๎าที่ของรัฐ ดังนั้นกระทรวงศึกษาธิการยังคงต๎องรับผิดชดใช๎เยียวยาคําเสียหายตาม
               หลัก Duty of Care โดยไมํต๎องพิสูจน๑วําเจ๎าหน๎าที่กระท าผิดหรือไมํ
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66