Page 56 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 56
32
รายได๎จากการด าเนินงานของโรงเรียน เงินและทรัพย๑สินที่มีผู๎บริจาค ดอกผลของเงินและรายได๎ผลประโยชน๑
อื่นๆ ของโรงเรียน
โรงเรียนจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เจตนารมณ๑จัดตั้งโรงเรียนเพื่อเป็นศูนย๑ฝึกวิชาชีพครูและ
ห๎องปฏิบัติการทางการศึกษาของคณะครุศาสตร๑และหนํวยงานอื่นๆทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ทั้ง
เป็นแหลํงทดลอง ศึกษา ค๎นคว๎า วิจัย พัฒนาความรู๎ตํางๆ สํงเสริมการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม และเพื่อ
บริการวิชาการแกํชุมชน เป็นโรงเรียนทางเลือกที่มีการสอนตามหลักสูตรบูรณาการ แตกต่างจากโรงเรียนที่
สังกัดภายใต้การก ากับดูแลของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แตํการเรียกเก็บเงินทางโรงเรียน
สามารถเรียกเก็บคําใช๎จํายในกิจกรรมพัฒนาผู๎เรียนได๎ ตามมติของสภามหาวิทยาลัย และประกาศของ
กระทรวงศึกษาธิการภายใต๎การอนุญาตของคณะกรรมการการศึกษาของโรงเรียน ซึ่งผู๎ปกครองรับทราบ เชํนนี้
ไมํปรากฏวํามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนจึงเห็นควรให๎ยุติเรื่อง
17) ค าร้องที่ 270/2554 และ 49/2556: กรณีนโยบายยุบ ควบรวมโรงเรียน
ผู๎ร๎องที่ 1 (สภาการศึกษาทางเลือก) และ ผู๎ร๎องที่ 2 (เครือขํายครูและผู๎บริหารสถานศึกษาแหํง
ประเทศไทย) ได๎ยื่นค าร๎องตํอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ เห็นวํานโยบายการยุบ ควบรวมโรงเรียน
ขนาดเล็กของกระทรวงศึกษาธิการ เป็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพในการศึกษาของเด็กนักเรียน จึงขอให๎
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนตรวจสอบ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติพิจารณาแล๎วเห็นด๎วยกับความเห็นของคณะอนุกรรมการ
ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนด๎านเด็ก สตรี และความเสมอภาคของบุคคลดังนี้ (รายงานผลพิจารณาที่
477-478/2557)
- นโยบายยุบ ควบรวม โรงเรียนของผู๎ถูกร๎องเป็นนโยบายที่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพในการศึกษาของ
เด็กนักเรียน รัฐต๎องค านึงถึงผลประโยชน๑สูงสุดของเด็กเป็นสิ่งส าคัญอันดับแรก โดยเฉพาะการจัดการศึกษา
ระดับประถมศึกษา ซึ่งต๎องเป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เด็กทุกคนสามารถเรียนโดยไมํเสียคําใช๎จําย ทั้งนี้รัฐต๎อง
ด าเนินการให๎ได๎อยํางทั่วถึง เพื่อให๎เด็กได๎สิทธิในการพัฒนาทั้งด๎านรํางกาย สมอง จิตใจ ศีลธรรมและสังคมของ
เด็ก ดังนั้นการจัดการศึกษาเพื่อให๎เด็กได๎พัฒนาในมิติที่รอบด๎าน เป็นเรื่องที่รัฐจะต๎องด าเนินการและลงทุนเพื่อ
เด็กพัฒนาสูํเปูาหมายชีวิตที่มีความเป็นมนุษย๑ที่สมบูรณ๑
- นโยบายยุบ ควบรวมโรงเรียนขนาดเล็ก โดยอ๎างเหตุผลด๎านงบประมาณของรัฐไมํอาจจัด
งบประมาณฯ เพื่อเพิ่มครูมาสอนให๎เด็กๆ ในโรงเรียนขนาดเล็กได๎ในแตํละวิชาแตํละชั้น เป็นข๎ออ๎างที่ไมํ
สมเหตุสมผลและแสดงถึงนโยบายรัฐที่ยังไมํค านึงถึงประโยชน๑สูงสุดของเด็กเป็นล าดับแรก และพื้นฐานโอกาส
ที่เทําเทียมกันทางการศึกษา ซึ่งนโยบายดังกลําวเป็นความบกพรํองในการบริหารจัดการงบประมาณที่อาจ
แก๎ไขได๎ เนื่องจากกํอนหน๎านั้นรัฐบาลได๎สนับสนุนให๎มีโรงเรียนขนาดเล็กมาโดยตํอเนื่อง และต๎องมีแผนการ
ด าเนินงานจัดจ๎างครูอยูํพร๎อมแล๎ว แตํตํอมารัฐก็ไมํอาจจัดหางบประมาณให๎เพียงพอในการบริหารการศึกษา
ส าหรับโรงเรียนขนาดเล็กได๎ จึงเป็นการบริหารจัดการที่ขาดประสิทธิภาพ จึงควรปรับการบริหารงบประมาณ
ใหมํแทนการใช๎วิธีก าหนดนโยบายยุบ ควบรวม โรงเรียนขนาดเล็ก