Page 123 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 123
99
ปฏิบัตินั้นมีเหตุผลที่ชอบด๎วยกฎหมายหรือไมํ มีวิธีการทางเลือกอื่นที่ท าให๎เกิดความเสียเปรียบน๎อยกวําและ
สามารถน ามาใช๎เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ที่ชอบด๎วยกฎหมายนั้นหรือไมํ เชํนเดียวกับกฎหมายเฉพาะเกี่ยวกับ
ความเทําเทียมกันในด๎านแรงงาน (Employment Equity Act 1998) ซึ่งมีหลักการคุ๎มครองความเทําเทียม
กันโดยห๎ามการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรมทั้งโดยตรงและโดยอ๎อม
หลักส าคัญของกฎหมายนี้ คือ
- มุํงสํงเสริมให๎เกิดความเทําเทียมกัน โดยก าหนดหน๎าที่ให๎รัฐต๎องด าเนินการให๎เกิดความเทําเทียม
โดยเฉพาะอยํางยิ่ง ส าหรับกลุํมบุคคลที่มีความแตกตํางและถูกเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุเชื้อชาติ เพศ และความ
พิการ
- ห๎ามการกระท าอันแบํงได๎ 3 กลุํมหลักคือ 1. การเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํง เชื้อชาติ เพศ ความ
พิการ 2. ห๎ามการสื่อสารที่กํอให๎เกิดความเกลียดชัง (Hate Speech) 3. ห๎ามการกระท าที่เป็นการคุกคาม
(Harassment) มีข๎อสังเกตวํา กฎหมายแอฟริกาใต๎ ห๎ามการกระท า 3 กลุํมหลักที่มีลักษณะของการเลือก
ปฏิบัติ โดยแยกการสื่อสารที่กํอให๎เกิดความเกลียดชัง (Hate Speech) และการคุกคาม (Harassment)
ออกมาเป็นหลักการตํางหากจากการเลือกปฏิบัติอื่นๆ
นอกจากนี้จะเห็นได๎วํา กฎหมายแอฟริกาใต๎ ก าหนดไว๎ชัดเจนถึง การเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม
(Unfair Discrimination) ในบริบทกฎหมายแอฟริกาใต๎ มี การเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม กับ การเลือก
ปฏิบัติอื่นๆที่แม๎วําจะมีลักษณะเลือกปฏิบัติ แตํไมํขัดตํอกฎหมาย
3.3.3 กฎหมายอินเดีย
1) รัฐธรรมนูญอินเดีย
รัฐธรรมนูญอินเดีย มีหลักเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติและความเทําเทียมกันดังนี้
การห้ามเลือกปฏิบัติ (Discrimination)
มาตรา 15 มีหลักวํา
(1) รัฐจะต๎องไมํเลือกปฏิบัติตํอพลเมืองด๎วยเพียงเพราะเหตุแหํงศาสนา เชื้อชาติ เพศ สถานที่เกิด
(2) พลเมืองจะต๎องไมํถูกท าให๎เสียสิทธิ หรือถูกจ ากัด หรืออยูํภายใต๎เงื่อนไขใด ในกรณีตํอไปนี้ ด๎วย
เพียงเพราะเหตุแหํงศาสนา เชื้อชาติ เพศ สถานที่เกิด
(ก) การเข๎าถึงร๎านค๎า ร๎านอาหาร โรงแรม สถานที่ให๎บริการเกี่ยวกับความบันเทิง
สาธารณะหรือ
(ข) การใช๎แหลํงน้ า สถานที่อาบน้ า ถนน สถานที่ใดๆซึ่งได๎รับเงินอุดหนุนทั้งหมดหรือ
บางสํวนจากรัฐซึ่งเปิดให๎ใช๎แกํบุคคลทั่วไป