Page 126 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 126

102


                                -  สํงผลเป็นอุปสรรคหรือท าให๎เสียไปซึ่งความเทําเทียมกันในโอกาสหรือการปฏิบัติ

                         เกี่ยวกับการจ๎างแรงงานหรืออาชีพ และ
                                - ได๎มีการก าหนดโดยกฎหมายวําเป็นการเลือกปฏิบัติเพื่อวัตถุประสงค์ของ

                         พระราชบัญญัตินี้ แตํไมํรวมถึงความแตกตําง การกีดกัน หรือการปฏิบัติอยํางเป็นพิเศษตํอไปนี้

                                - กรณีเกี่ยวกับงานอยํางใดอยํางหนึ่งโดยเฉพาะซึ่งอยูํบนพื้นฐานของเงื่อนไขจ าเป็นโดย
                         ธรรมชาติของงานนั้น

                                - กรณีเกี่ยวกับการจ๎างงานในฐานะสมาชิกของพนักงานแหํงสถาบันซึ่งกระท าการตาม

                         หลักการ ความเชื่อ หรือ ค าสอนของศาสนาหรือลัทธิใดโดยได๎รับการปฏิบัติที่แตกตําง การกีดกัน
                         หรือการปฏิบัติอยํางเป็นพิเศษซึ่งกระท าด๎วยความสุจริตเพื่อหลีกเลี่ยงความเสียหายตํอความรู๎สึก

                         อํอนไหวของผู๎นับถือศาสนาหรือลัทธินั้น


                                                                                   22
                         - การเลือกปฏิบัติที่มิชอบด้วยกฎหมาย (Unlawful Discrimination)  หมายถึงการกระท า การ
                  ละเว๎นการกระท า หรือการปฏิบัติซึ่งมิชอบด๎วยกฎหมายดังตํอไปนี้

                         การกระท าที่ขัดตํอ สํวนที่ 4 ของ พระราชบัญญัติการเลือกปฏิบัติทางอายุ (Age Discrimination

                  Act 2004)
                         การกระท าที่ขัดตํอ สํวนที่ 2 ของ พระราชบัญญัติการเลือกปฏิบัติทางความพิการ (Disability

                  Discrimination Act 1992)

                         การกระท าที่ขัดตํอ สํวนที่ II  หรือ IIA  ของพระราชบัญญัติการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ (Racial
                  Discrimination Act 1975)

                         การกระท าที่ขัดตํอ สํวนที่ II ของ พระราชบัญญัติการเลือกปฏิบัติทางเพศ (Sex Discrimination
                  Act 1984)

                         จะเห็นได๎วําพระราชบัญญัตินี้  ก าหนดจัดตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนก าหนดอ านาจหน๎าที่
                  รวมถึงก าหนดรายละเอียดกระบวนการยื่นและพิจารณาค าร๎องส าหรับผู๎ถูกเลือกปฏิบัติแตํมิได๎ก าหนด

                  มาตราในเชิงสารบัญญัติเกี่ยวกับลักษณะการกระท าที่เป็นการเลือกปฏิบัติไว๎ในรายละเอียด  เนื่องจาก

                  พระราชบัญญัตินี้ใช๎วิธีการก าหนดนิยามความหมายของ“การเลือกปฏิบัติ” และ “การเลือกปฏิบัติที่มิชอบ
                  ด๎วยกฎหมาย” ไว๎ ซึ่งจากนิยามดังกลําวมีความเชื่อมโยงไปยังเนื้อหาที่ก าหนดรายละเอียดของการเลือก

                  ปฏิบัติไว๎ตามกฎหมายฉบับอื่นๆ ดังนั้นจึงต๎องมีการพิจารณากฎหมายเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติฉบับอื่นๆ

                  ควบคูํไปด๎วย
                         ส าหรับความสัมพันธ์ระหวํางกฎหมายระดับสหพันรัฐกับกฎหมายระดับมลรัฐนั้น จะเห็นได๎วํา การ

                  เลือกปฏิบัติในหลายกรณีมีการบัญญัติห๎ามไว๎ทั้งในกฎหมายสหพันธรัฐและกฎหมายระดับมลรัฐ กรณีเชํนนี้






                  22  Part I, article 3 (Interpretation)
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131