Page 91 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
P. 91

และไม่ยินยอม โรงพยาบาลก็ได้ท�าความเข้าใจเพิ่มเติมและให้ทดลองปฏิบัติว่าจะได้ประโยชน์แก่ผู้รับการบริการหรือไม่
           อย่างไร สุดท้ายในขณะนี้ซึ่งประมาณ ๑ ปี ครึ่ง หลังจากการเปลี่ยนแปลงที่ไม่พบปัญหาที่รุนแรงและผู้บริการพอใจต่อการ
           เปลี่ยนแปลง ทางโรงพยาบาลจึงเห็นว่าไม่ควรด�าเนินการอะไรที่ท�าให้เกิดความสับสนวุ่นวายอีก ยกเว้นรายใดที่มีเหตุผล
           จ�าเป็นกรณีพิเศษจะพิจารณาเป็นกรณี ๆ ไป



                   (๒) ส�านักอนามัย กรุงเทพมหานคร แจ้งผลด�าเนินการว่าศูนย์บริการสาธารณสุข ๖๘ แห่ง เป็นหน่วยบริการปฐมภูมิ /
           หน่วยบริการประจ�า ไม่สามารถย้ายสิทธิหลักประกันสุขภาพของผู้มีสิทธิได้ เนื่องจากการลงทะเบียนสิทธิหลักประกัน
           สุขภาพ ถือเป็นหน้าที่ของประชาชนทุกคนที่ต้องลงทะเบียนเพื่อขอรับการบริการในระดับปฐมภูมิ มีการประชาสัมพันธ์

           การเปลี่ยนแปลงสิทธิผู้รับบริการร่วมกับคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ตามโครงการลด
           ความแออัดผู้ป่วยนอก ผ่านการประชุมประจ�าเดือนของส�านักงานเขตที่เกี่ยวข้อง


                   (๓) ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๓ กรุงเทพมหานคร แจ้งผลด�าเนินการว่า ได้ร่วมกับส่วน

           ราชการที่เกี่ยวข้องเยียวยาผู้เสียหาย ให้กับประชาชนที่ได้รับผลกระทบโดยตรงทุกราย และได้คืนสิทธิให้ผู้ร้องตามเดิม
           เรียบร้อยแล้ว มีการใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการจัดหน่วยบริการสาธารณสุขใกล้บ้านให้กับประชาชนโดยมุ่งหวัง
           ให้ประชาชนได้รับบริการที่สะดวก โดยพิจารณาจัดเครือข่ายหน่วยบริการให้ประชาชนที่อยู่ของประชาชนใกล้บ้าน "ระดับ
           แขวง" ของพื้นที่กรุงเทพมหานคร และรับข้อเสนอของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเพื่อน�าไปพิจารณาด�าเนินร่วม

           กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป


           กรณีที่ ๑๕ สิทธิแรงงาน กรณีกล่าวอ้างว่า บริษัท ธ. จังหวัดลพบุรี ละเมิดสิทธิแรงงานและ
           จ�ากัดเสรีภาพในการเดินทาง



                   ประเด็นการร้องเรียน


                   ผู้ร้องโดยเครือข่ายเพื่อสิทธิแรงงานข้ามชาติ (MWRN) ได้ร้องเรียนขอให้ตรวจสอบกรณีกล่าวอ้างว่า ผู้ร้องทั้ง

           ๑๔ คน เป็นผู้มีสัญชาติเมียนมา ได้เข้ามาท�างานเป็นลูกจ้างในฟาร์มเลี้ยงไก่ของบริษัท ธ. (ผู้ถูกร้อง) ในพื้นที่ต�าบลโคกตูม
           อ�าเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ได้รับค่าจ้างในอัตราวันละ ๓๐๐ บาท แต่ผู้ถูกร้องได้หักค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ออกจากค่าจ้าง
           จึงท�าให้ยอดสุทธิของค่าจ้างเหลือเพียงวันละ ๒๓๐ บาท และได้ให้ผู้ร้องท�างานโดยไม่มีวันหยุดประจ�าสัปดาห์ วันหยุดพัก
           ผ่อนประจ�าปี และวันหยุดตามประเพณี นอกจากนี้ ผู้ถูกร้องได้บังคับให้ผู้ร้องท�างานล่วงเวลาตั้งแต่เวลา ๒๑.๐๐ – ๐๕.๐๐

           นาฬิกา ทั้งยังมีพฤติการณ์หน่วงเหนี่ยวกักขังผู้ร้องให้สูญเสียเสรีภาพในการเดินทางโดยก�าหนดให้ผู้ร้องสามารถเดินทางออก
           จากสถานที่ประกอบการของผู้ถูกร้องเพียงสัปดาห์ละ ๒ ชั่วโมง และได้มีการยึดเอกสารประจ�าตัวของผู้ร้องทุกคนไว้ด้วย


                   การด�าเนินการ



                   คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณาแล้วเห็นว่า รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  (ฉบับชั่วคราว)
           พุทธศักราช ๒๕๕๗ มาตรา ๔ บัญญัติว่า “ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ
           เสรีภาพ และความเสมอภาค บรรดาที่ชนชาวไทยเคยได้รับการคุ้มครองตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบ

           ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และตามพันธกรณีระหว่างประเทศที่ประเทศไทยมีอยู่แล้ว ย่อมได้
           รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญนี้” สิทธิแรงงานโดยเฉพาะสิทธิที่จะได้รับค่าจ้างที่เป็นธรรมและสิทธิที่จะมีวันลาเป็น
           สิทธิมนุษยชนที่ได้รับการรับรองโดยกติการะหว่างประเทศด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ข้อ ๗ จึงย่อมได้รับการ
           คุ้มครองโดยรัฐธรรมนูญ และพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ มาตรา ๕๖

            90  |  รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96