Page 90 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
P. 90

บทที่ ๒ ผลการด�าเนินงานประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐




            สิทธิหลักประกันสุขภาพของผู้รับบริการได้เองโดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้รับบริการ ดังนั้น การย้ายสิทธิหลักประกัน
            สุขภาพของผู้ร้องจากผู้ถูกร้องไปที่ศูนย์บริการสาธารณสุข ๖ สโมสรวัฒนธรรม โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ร้อง จึง
            เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนของผู้ร้อง แต่เมื่อผู้ถูกร้องได้เปลี่ยนสิทธิหลักประกันสุขภาพของผู้ร้องกลับมาที่โรงพยาบาล
            วชิรพยาบาลตามเดิม ประเด็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนของผู้ร้องจึงได้รับการแก้ไขเยียวยาแล้ว ทั้งนี้ คณะกรรมการ

            สิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีข้อเสนอแนะเพื่อเป็นการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับสิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุขไปยัง
            กระทรวงสาธารณสุขและส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที่ต้องค�านึงถึงรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และ
            กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ดังนี้                                                                              บทที่ ๒



                     ข้อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย


                     (๑) กรณีในเขตกรุงเทพมหานคร ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๓ กรุงเทพมหานคร ผู้ถูกร้อง
            และส�านักอนามัย กรุงเทพมหานคร ควรด�าเนินการร่วมกัน ดังนี้

                        (๑.๑) ควรแก้ไขเยียวยาให้ผู้รับบริการสาธารณสุขที่ถูกเปลี่ยนสิทธิหลักประกันสุขภาพให้ได้รับการคืน
            สิทธิหลักประกันสุขภาพมารับบริการสาธารณสุขที่โรงพยาบาลวชิรพยาบาลเช่นเดิม
                        (๑.๒) หน่วยบริการควรมีหนังสือแจ้งผู้รับบริการสาธารณสุขที่ใช้สิทธิรับบริการที่โรงพยาบาลวชิรพยาบาล ให้
            ด�าเนินการเปลี่ยนย้ายสิทธิหลักประกันสุขภาพไปยังศูนย์บริการสาธารณสุขใกล้บ้าน โดยอาจใช้กลไกอาสาสมัครสาธารณสุข

            ประจ�าหมู่บ้าน (อสม.) หรือผู้น�าชุมชนในการประชาสัมพันธ์และประสานท�าความเข้าใจกับผู้รับบริการ
                        (๑.๓) ควรมีหนังสือแจ้งให้ผู้มีสิทธิหลักประกันสังคมที่ไม่ได้อาศัยอยู่ในพื้นที่เขตบางซื่อ บางพลัด จตุจักร
            ราชเทวี พญาไท พระนคร และปทุมวัน ย้ายสิทธิหลักประกันสังคมไปใช้บริการสาธารณสุขกับหน่วยบริการใกล้บ้าน



                     (๒) กรณีในต่างจังหวัด กระทรวงสาธารณสุข และส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขตที่เกี่ยวข้อง ควร
            ด�าเนินการ ดังนี้
                        (๒.๑) ควรมีหนังสือแจ้งให้ผู้รับบริการเปลี่ยนย้ายสิทธิหลักประกันสุขภาพไปยังหน่วยบริการสาธารณสุขที่
            ใกล้บ้าน โดยอาจใช้กลไกอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน (อสม.) หรือผู้น�าชุมชนในการประชาสัมพันธ์และประสาน

            ท�าความเข้าใจกับผู้รับบริการ
                        (๒.๒) การเปลี่ยนย้ายสิทธิหลักประกันสุขภาพ ควรน�าระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาเป็นส่วนร่วมในการ
            ก�าหนดหน่วยบริการสาธารณสุขใกล้บ้าน โดยให้ค�านึงถึงความสะดวกในการเดินทางมารับบริการของผู้รับบริการ
                        (๒.๓)  ควรพัฒนาหน่วยบริการ (โรงพยาบาลชุมชน หรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล) ให้มีความพร้อมรองรับ

            ผู้รับบริการสาธารณสุขทุกวัน เพื่อลดความแออัดของผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาลศูนย์หรือโรงพยาบาลขนาดใหญ่ ดังนี้
                              (๒.๓.๑)  ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ได้แก่ ที่จอดรถของหน่วยบริการ เก้าอี้นั่งตรวจ จ�านวนห้องสุขาให้เพียงพอ
                              (๒.๓.๒) ด้านบุคลากร จัดให้เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลให้บริการรวดเร็ว ทันใจ โดยเฉพาะแพทย์สามารถ
            ช่วยชีวิตคนได้ทันเวลา และมีศักยภาพที่จะช่วยรักษาโรคต่างๆ ให้หายขาดได้

                              (๒.๓.๓) ด้านระบบเวชภัณฑ์ยา จัดให้มียาครบตามสภาพอาการของผู้รับบริการ


                     ผลส�าเร็จ/ความก้าวหน้าในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน



                     (๑) คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช แจ้งผลด�าเนินการว่า ได้แก้ไขเยียวยาผู้ร้องเรียน
            แล้ว และชี้แจงว่า ในการด�าเนินการย้ายสิทธิในครั้งนั้น ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต ๑๓ ได้ประชาสัมพันธ์
            และแจ้งให้ผู้รับบริการทราบทั่วกันแล้ว ซึ่งผู้รับบริการส่วนใหญ่เข้าใจและยินยอม ยกเว้นบางรายที่ในช่วงแรกไม่เข้าใจ



                                                                               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  | 89
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95