Page 130 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
P. 130
บทที่ ๒ ผลการด�าเนินงานประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐
๓.๑.๗ สิทธิชุมชน กรณีกล่าวอ้างว่าการก่อสร้างคลังก๊าซแหลมใหญ่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการประกอบอาชีพ
ของชุมชนคลองน้อย
๓.๑.๘ การถูกคุมขังเกินกว่าโทษตามค�าพิพากษา
๓.๑.๙ สิทธิในกระบวนการยุติธรรม กรณีปัญหาการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังที่มีการอายัด
๓.๑.๑๐ แนวทางการเยียวยาความเสียหาย กรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชนและกรณีการเยียวยาตามหลัก
มนุษยธรรม
๓.๑.๑๑ สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ กรณีนโยบายและแผนการด�าเนินงานเพื่อ บทที่ ๒
ความพิการแต่ก�าเนิด โดยการก�าหนดให้กรดโฟลิกเป็นส่วนประกอบในอาหาร
๓.๑.๑๒ สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ อันเกี่ยวเนื่องกับสิทธิและสถานะบุคคลกรณี
การเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขของผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาที่ลี้ภัยในเมือง (urban refugee)
๓.๒ การให้ความเห็นต่อร่างกฎหมายของหน่วยงานราชการต่าง ๆ ในด้านสิทธิมนุษยชน
จ�านวน ๔ เรื่อง ดังนี้
๓.๒.๑ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐
กฎหมายดังกล่าวมีความเกี่ยวข้องกับร่างพระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. .... และ
ร่างประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ที่จะมีผลใช้บังคับในอนาคตเพื่อให้สามารถปฏิบัติและสอดรับกับ
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์
๓.๒.๒ ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
ก�าหนดอายุขั้นต�่าในการรับผิดทางอาญาของเด็กจาก ๑๐ ปี เป็น ๑๒ ปี และฐานความผิดซื้อขายเด็กและลักพา
เด็ก และก�าหนดเพิ่มอายุความในกรณีความผิดเกี่ยวกับเพศ และเงื่อนไขในการร้องทุกข์
๓.๒.๓ ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา
กรณีแก้ไขเพิ่มเติมหลักเกณฑ์การอุทธรณ์หรือฎีกาที่ก�าหนดให้จ�าเลยที่ต้องรับโทษจ�าคุก หรือสถานที่หนักกว่า
จ�าคุกซึ่งไม่ได้ถูกคุมขังจะยื่นอุทธรณ์หรือฎีกาได้ต่อเมื่อมาแสดงตนต่อเจ้าพนักงานศาลในขณะยื่นอุทธรณ์หรือฎีกา
๓.๒.๔ ร่างพระราชบัญญัติการบริหารการแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่กระท�าผิด พ.ศ. ....
๔. ผลกำรด�ำเนินงำนกำรศึกษำวิจัยด้ำนสิทธิมนุษยชน
๔.๑ ผลการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้
ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ตามที่กฎหมายก�าหนด อาทิ การตรวจสอบ
และรายงานการกระท�าหรือการละเลยการกระท�าอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรืออันไม่เป็นไปตามพันธกรณีระหว่าง
ประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี การเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย กฎ
หรือข้อบังคับต่อรัฐสภาและคณะรัฐมนตรีเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน การจัดท�ารายงานประจ�าปีเพื่อประเมิน
สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนภายในประเทศเสนอต่อรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี จ�าเป็นต้องอาศัยองค์ความรู้ทางวิชาการที่
ได้จากการศึกษาวิจัยเพื่อให้การด�าเนินการดังกล่าวเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งในระยะเวลาที่ผ่านมา กสม. ได้สนับสนุนให้
มีการศึกษาวิจัย เพื่อน�าไปใช้ประโยชน์ในหลายด้าน ทั้งการศึกษาวิจัยเพื่อสนับสนุนการจัดท�ารายงานการตรวจสอบเรื่อง
ร้องเรียนหรือการจัดท�าข้อเสนอแนะนโยบาย/ข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย การศึกษาวิจัยเพื่อใช้เป็นข้อมูลสนับสนุน
การจัดท�ารายงานประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนประจ�าปี การศึกษาวิจัยเพื่อการส่งเสริมสนับสนุนให้สังคม/ภาคส่วน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ | 129