Page 92 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 92

บทที่ ๓ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง



            ๓.๓ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เสรีภาพสื่อมวลชน และเสรีภาพใน
            การชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ



            ภาพรวม



                  ในสังคมประชำธิปไตย ควำมเสมอภำค สิทธิและเสรีภำพเป็นคุณลักษณะส�ำคัญของประชำธิปไตย โดยเฉพำะเสรีภำพ
            ในกำรแสดงควำมคิดเห็น เสรีภำพสื่อมวลชน และเสรีภำพในกำรชุมนุมโดยสงบและปรำศจำกอำวุธ โดยได้รับกำรประกันไว้
            ในกติกำ ICCPR ข้อ ๑๙ ซึ่งก�ำหนดให้บุคคลมีสิทธิที่จะมีควำมคิดเห็นโดยปรำศจำกกำรแทรกแซง มีสิทธิในเสรีภำพแห่งกำร

            แสดงออกรวมถึงเสรีภำพที่จะแสวงหำ รับ และเผยแพร่ข้อมูลข่ำวสำรและควำมคิดเห็นทุกประเภท ข้อ ๒๑ ก�ำหนดให้
            สิทธิในกำรชุมนุมโดยสงบย่อมได้รับกำรรับรอง โดยกำรใช้สิทธิและเสรีภำพดังกล่ำวต้องมีหน้ำที่และควำมรับผิดชอบพิเศษควบคู่
            ไปด้วย และรัฐอำจจ�ำกัดสิทธิเช่นว่ำได้ ซึ่งต้องบัญญัติไว้ในกฎหมำยด้วยเหตุผลควำมจ�ำเป็นต่อ (ก) กำรเคำรพในสิทธิหรือ
            ชื่อเสียงของบุคคลอื่น และ (ข) กำรรักษำควำมมั่นคงของชำติ หรือควำมสงบเรียบร้อย หรือกำรสำธำรณสุข หรือศีลธรรม

            ของประชำชน และรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ บทบัญญัติ ในหมวด ๓ สิทธิและเสรีภำพของ
            ปวงชนชำวไทย ได้รับรองเสรีภำพต่ำง ๆ ของบุคคลได้แก่ เสรีภำพที่จะแสดงควำมคิดเห็น เสรีภำพทำงวิชำกำร เสรีภำพ
            ในกำรชุมนุมโดยสงบและปรำศจำกอำวุธ และเสรีภำพในกำรเสนอข่ำวสำรหรือกำรแสดงควำมคิดเห็นตำมจริยธรรม
            แห่งวิชำชีพ โดยในปี ๒๕๖๐ ได้มีเหตุกำรณ์ที่เกี่ยวข้องกับกำรด�ำเนินกำรของรัฐที่มีผลกระทบต่อเสรีภำพของประชำชนที่ส�ำคัญ

            หลำยประกำร ดังนี้                                                                                     บทที่
                                                                                                                   ๓
            ๑.เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
                  กติกำ ICCPR ข้อ ๑๙ ก�ำหนดให้ “บุคคลมีสิทธิที่จะมีควำมคิดเห็นโดยปรำศจำกกำรแทรกแซงมีสิทธิในเสรีภำพ

            แห่งกำรแสดงออก รวมถึงเสรีภำพที่จะแสวงหำ รับ และเผยแพร่ข้อมูลข่ำวสำรและควำมคิดทุกประเภท” และรัฐธรรมนูญแห่ง
            รำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ มำตรำ ๓๔ บัญญัติให้ “บุคคลย่อมมีเสรีภำพในกำรแสดงควำมคิดเห็น กำรพูด กำรเขียน
            กำรพิมพ์ กำรโฆษณำ และกำรสื่อควำมหมำยโดยวิธีอื่น...” แต่อย่ำงไรก็ตำม เสรีภำพในกำรแสดงควำมคิดเห็นถูกจ�ำกัดได้
            โดยกำรตรำเป็นกฎหมำยเพื่อรักษำควำมมั่นคงของรัฐ เพื่อคุ้มครองสิทธิหรือเสรีภำพของบุคคลอื่น เพื่อรักษำควำมสงบ

            เรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชำชน หรือเพื่อป้องกันสุขภำพของประชำชน โดยเฉพำะพระรำชบัญญัติว่ำด้วย
            กำรกระท�ำควำมผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งนับตั้งแต่ประกำศใช้กฎหมำยดังกล่ำวเกิดปัญหำกำรบังคับใช้กฎหมำย
            กำรตีควำมที่คลำดเคลื่อนไปจำกเจตนำรมณ์ โดยที่ผ่ำนมำในทำงปฏิบัติพนักงำนเจ้ำหน้ำที่และประชำชนส่วนใหญ่ตีควำม
            และปรับใช้กฎหมำยมำตรำ ๑๔ (๑) ซึ่งบัญญัติว่ำ “ผู้ใดกระท�ำควำมผิดน�ำเข้ำสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอม

            ไม่ว่ำทั้งหมดหรือบำงส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประกำรที่น่ำจะเกิดควำมเสียหำยแก่ผู้อื่นหรือประชำชน”
            น�ำไปสู่กำรฟ้องร้องต่อผู้ที่ได้แสดงควำมเห็นทำงกำรเมือง นักวิชำกำร นักสิ่งแวดล้อม และนักปกป้องสิทธิมนุษยชน
            ในลักษณะที่เรียกว่ำ “ฟ้องปิดปำก (SLAPP)” รวมถึงกำรด�ำเนินคดีหมิ่นประมำทที่มีควำมซ�้ำซ้อนกับกฎหมำยอำญำ
            ส่งผลให้จ�ำนวนกำรฟ้องคดีมีแนวโน้มเพิ่มมำกขึ้น

                  ต่อมำรัฐบำลได้ประกำศใช้พระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรกระท�ำควำมผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐
            (มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๔ พฤษภำคม ๒๕๖๐) แก้ไขปัญหำดังกล่ำวโดยก�ำหนดให้ “ผู้ใดกระท�ำควำมผิดโดยทุจริต หรือ
            โดยหลอกลวง น�ำเข้ำสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่บิดเบือนหรือปลอมไม่ว่ำทั้งหมดหรือบำงส่วน หรือข้อมูล
            คอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประกำรที่น่ำจะเกิดควำมเสียหำยแก่ประชำชน อันมิใช่กำรกระท�ำควำมผิดฐำนหมิ่นประมำท










                                                                                คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  | 91
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97