Page 89 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 89

ส�ำหรับกำรคุมขังระหว่ำงรอกำรพิจำรณำ เช่น ก�ำไลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bracelets) หรือเงื่อนไขอื่น ๆ  ซึ่งรัฐได้มี
                                                                                                   ๕๘
           ควำมพยำยำมในกำรที่จะแก้ไขปัญหำกำรเข้ำถึงสิทธิในกำรปล่อยชั่วครำว โดยจัดท�ำโครงกำรพัฒนำระบบประเมินควำมเสี่ยง
           และก�ำกับดูแลในชั้นปล่อยชั่วครำว ส�ำหรับคดีอำญำที่มีอัตรำโทษจ�ำคุกไม่เกิน ๕ ปี โดยไม่ต้องใช้หลักประกัน  และโครงกำร
                                                                                                ๕๙
           ปล่อยชั่วครำวด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตำมตัว (EM) ซึ่งได้ทดลองใช้ใน ๒๓ ศำลน�ำร่อง กำรด�ำเนินกำรดังกล่ำวท�ำให้

           ผู้ต้องหำหรือจ�ำเลยที่ไม่สำมำรถหำหลักประกันได้เพียงพอ มีโอกำสได้รับกำรปล่อยชั่วครำวมำกขึ้น ประชำชนเข้ำถึงสิทธิใน
           กำรปล่อยชั่วครำวได้โดยเท่ำเทียมกัน เป็นกำรลดปัญหำควำมเหลื่อมล�้ำในกระบวนกำรยุติธรรมอันเนื่องมำจำกฐำนะทำง
           เศรษฐกิจ และช่วยลดปริมำณผู้ต้องขังระหว่ำงพิจำรณำคดีในเรือนจ�ำ ทั้งยังสอดคล้องกับแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ ฉบับที่ ๓
           (พ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๖๑) ด้ำนควำมมั่นคงทำงสังคม กลุ่มผู้ต้องหำ/ผู้ต้องขัง มำตรกำรข้อ ๕  และกำรปล่อยชั่วครำว
                                                                                       ๖๐
           ได้ก�ำหนดเป็นประเด็นหนึ่งในร่ำงแผนกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกระบวนกำรยุติธรรม  อย่ำงไรก็ตำม ในอนำคตควรมี
                                                                                ๖๑
           กำรขยำยกำรด�ำเนินกำรทั้งในส่วนของกำรใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตำมตัว (EM) และกำรใช้ระบบประเมินควำมเสี่ยงและ
           ก�ำกับดูแลในชั้นปล่อยชั่วครำวในพื้นที่อื่น ๆ เพื่อให้ประชำชนในพื้นที่ต่ำง ๆ สำมำรถเข้ำถึงสิทธิในกำรปล่อยชั่วครำวได้
                ๔. กำรน�ำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตำมตัว (EM) มำใช้กับผู้กระท�ำควำมผิดในระบบงำนคุมประพฤติ เป็นกำรด�ำเนิน

           กำรที่สอดคล้องกับแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๖๑) ด้ำนควำมมั่นคงทำงสังคม กลุ่มผู้ต้องหำ
           /ผู้ต้องขัง มำตรกำรข้อ ๕ และได้ก�ำหนดเป็นกิจกรรมหนึ่งในร่ำงแผนกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกระบวนกำรยุติธรรม
                                                                                                           ๖๒
           กรมคุมประพฤติได้มีกำรด�ำเนินกำรตั้งแต่ปี ๒๕๕๗ และในปี ๒๕๖๐ มีกำรออกกฎกระทรวงกำรใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
           หรืออุปกรณ์อื่นใดในกำรติดตำมตัวผู้ถูกคุมควำมประพฤติตำมเงื่อนไขที่ศำลหรือเจ้ำพนักงำนผู้มีอ�ำนำจสั่ง พ.ศ. ๒๕๖๐

           เพื่อก�ำหนดรำยละเอียดในกำรปฏิบัติของเจ้ำหน้ำที่ ถือได้ว่ำรัฐมีควำมพยำยำมในกำรด�ำเนินกำรในเรื่องนี้ อย่ำงไรก็ตำม
           พบว่ำ กำรน�ำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตำมตัว (EM) มำใช้ในระบบงำนคุมประพฤติมีปัญหำด้ำนควำมต่อเนื่องของ
           กำรด�ำเนินกำร โดยในปี ๒๕๕๙ ไม่ได้รับกำรจัดสรรงบประมำณ ต่อมำในปี ๒๕๖๐ ได้รับกำรจัดสรรงบประมำณแต่มีปัญหำ
           เกี่ยวกับกำรบริหำรจัดกำรในกระบวนกำรจัดซื้อจัดจ้ำงตำมระเบียบส�ำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยกำรพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕

           จึงท�ำให้ไม่มีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตำมตัว (EM) ใช้ในระบบงำนคุมประพฤติถึง ๒ ปีติดต่อกัน รัฐจึงควรที่จะแก้ไขปัญหำ
           ที่เกิดขึ้นเพื่อให้กำรด�ำเนินกำรใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตำมตัว (EM) ในระบบงำนคุมประพฤติเป็นไปอย่ำงต่อเนื่อง


                รัฐได้มีกำรด�ำเนินกำรทั้งในด้ำนกฎหมำย นโยบำยเพื่อให้ประชำชนเข้ำถึงสิทธิในกระบวนกำรยุติธรรม แต่อย่ำงไร

           ก็ตำม ในปี ๒๕๖๐ มีสถำนกำรณ์ที่น่ำห่วงใยที่รัฐควรตระหนักและให้ควำมส�ำคัญ ดังนี้
                ๑. ในกำรบังคับใช้กฎหมำยยังคงพบว่ำมีกำรร้องเรียนโดยกล่ำวอ้ำงว่ำเจ้ำหน้ำที่ของรัฐในกระบวนกำรยุติธรรม
           ด�ำเนินกำรที่เป็นกำรกระทบต่อสิทธิมนุษยชน จะเห็นได้จำกเรื่องร้องเรียนต่อ กสม. ด้ำนสิทธิในกระบวนกำรยุติธรรม
           มีจ�ำนวนสูงกว่ำด้ำนอื่น ๆ ซึ่งกำรบังคับใช้กฎหมำยของเจ้ำหน้ำที่จะมุ่งรักษำควำมสงบเรียบร้อยของสังคมเป็นส�ำคัญ

           จึงมีกำรด�ำเนินกำรที่กระทบต่อสิทธิและเสรีภำพของประชำชนเกินควร เช่น กำรจับกุมหรือควบคุมตัวบุคคลโดยมี
           กำรใช้ก�ำลังจนได้รับบำดเจ็บ  เป็นต้น ซึ่งกำรด�ำเนินกำรของเจ้ำหน้ำที่นอกจำกจะมีจุดมุ่งหมำยเพื่อยับยั้ง ป้องกัน ปรำบปรำม
                                 ๖๓
           อำชญำกรรมแล้ว กำรด�ำเนินกำรต่ำง ๆ ต้องค�ำนึงถึงสิทธิและเสรีภำพของผู้เสียหำย ผู้ต้องหำ หรือจ�ำเลยด้วย



           ๕๘  The Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights. (2017). CCPR General Comment No.35 Article 9 (Liberty and security of Person). Retrieved
             from www.ohchr.org/EN/HRBodies/CCPR/Pages/GC35-Article9LibertyandSecurityofperson.aspx
           ๕๙  สรุปผลกำรประชุมเชิงปฏิบัติกำร เรื่อง “แนวทำงกำรพัฒนำระบบประเมินควำมเสี่ยงและก�ำกับดูแลในชั้นปล่อยชั่วครำวภำยหลังกำรทดลอง” ในระหว่ำงวันที่ ๔ - ๕ พฤษภำคม ๒๕๖๐ ณ
             ห้องประชุม ๗๐๒ ชั้น ๗ อำคำรสถำบันพัฒนำข้ำรำชกำรฝ่ำยตุลำกำรศำลยุติธรรม ถนนรัชดำภิเษก กรุงเทพมหำนคร.
           ๖๐  ข้อ ๕ กำรปฏิบัติต่อผู้ต้องหำหรือจ�ำเลยที่ไม่ได้รับอนุญำตให้ปล่อยตัวชั่วครำว กำรไม่ถูกควบคุมในเรือนจ�ำ และกำรแสวงหำแนวทำงหรือเครื่องมืออื่น ๆ ในกำรติดตำมควบคุมผู้ต้องหำหรือ
             จ�ำเลย กำรส่งเสริมกำรควบคุมผู้ต้องขังนอกเรือนจ�ำมำกขึ้น เปิดโอกำสให้ผู้กระท�ำผิดสำมำรถใช้ชีวิตอยู่ในบ้ำนเพื่อดูแลครอบครัวและท�ำมำหำกินได้ แต่ให้ถูกจ�ำกัดสิทธิเสรีภำพบำงส่วนแทน
             กำรส่งผู้กระท�ำผิดทั้งหมดเข้ำเรือนจ�ำ.
           ๖๑  เอกสำรประกอบกำรสัมมนำรับฟังควำมคิดเห็นแผนปฏิรูปประเทศด้ำนกระบวนกำรยุติธรรม ของคณะกรรมกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกระบวนกำรยุติธรรม เมื่อวันที่ ๒๓ พฤศจิกำยน ๒๕๖๐
             ณ โรงแรมเจ้ำพระยำปำร์ค,หน้ำ ๙.
           ๖๒  เพิ่งอ้ำง, หน้ำ ๓๔.
           ๖๓  ดูรำยละเอียดเพิ่มเติมในส่วนของสถำนกำรณ์สิทธิมนุษยชน.


           88 |  รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๐
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94