Page 88 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 88

บทที่ ๓ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง




            กำรต�ำรวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ ๓๒ กำรพิมพ์ลำยนิ้วมือ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗ ไม่ได้ก�ำหนดให้กำรคัดแยกประวัติกำรกระท�ำผิด
            ของเด็กและเยำวชน และบัญชีทะเบียนประวัติของเด็กและเยำวชนไว้ในหมวดหนึ่งหมวดใดโดยเฉพำะ จึงอำจมีผลให้
            เจ้ำหน้ำที่มีดุลพินิจที่กว้ำงเกินไปในกำรพิจำรณำเปิดเผยประวัติของเด็กและเยำวชน ๙) กำรรับผู้พ้นโทษกลับเข้ำท�ำงำน
            ควรพิจำรณำทบทวนปรับปรุงและแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมำยในเรื่องนี้ ๑๐) มำตรกำรกักขังแทนค่ำปรับ ควรพิจำรณำ

            ทบทวนควำมจ�ำเป็นของบทบัญญัติดังกล่ำว เนื่องจำกเสรีภำพของบุคคลที่จะต้องสูญเสียและค่ำใช้จ่ำยที่รัฐจะต้องจัดหำ
            สถำนที่และสำธำรณูปโภคให้กับจ�ำเลยแล้ว จะเห็นว่ำไม่ได้สัดส่วนกัน ๑๑) บทบัญญัติว่ำด้วยควำมผิดฐำนละเมิดอ�ำนำจศำล
            ควรมีกำรทบทวนหรือแก้ไข หำกกำรกระท�ำละเมิดอ�ำนำจศำลเป็นกรรมเดียวกับควำมผิดอำญำที่บัญญัติในประมวล
            กฎหมำยอำญำหรือพระรำชบัญญัติที่มีโทษทำงอำญำควรด�ำเนินคดีอำญำตำมปกติ ๑๒) พระรำชบัญญัติค่ำตอบแทน

            ผู้เสียหำยและค่ำทดแทนและค่ำใช้จ่ำยแก่จ�ำเลยในคดีอำญำ พ.ศ. ๒๕๔๔ ควรแก้ไขให้ครอบคลุมถึงจ�ำเลยในคดีอำญำที่ศำล
            พิพำกษำยกฟ้องเพรำะพยำนหลักฐำนไม่เพียงพอ และจ�ำเลยที่ถูกขังระหว่ำงพิจำรณำในคดีอำญำที่ผู้เสียหำยเป็นผู้ฟ้องคดี
            อำญำเองด้วย และ ๑๓) ปัญหำโทษทำงอำญำเฟ้อ ควรพิจำรณำทบทวนควำมเหมำะสมในกำรก�ำหนดโทษทำงอำญำ และ
            ควรน�ำมำตรกำรทำงเลือกอื่นที่เหมำะสมมำใช้ทดแทนกำรลงโทษทำงอำญำส�ำหรับควำมผิดบำงประเภท
                                                                                                 ๕๕
                  ๒. รัฐได้มีควำมพยำยำมในกำรที่จะแก้ไขพระรำช
            บัญญัติรำชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๔๗๙ ซึ่งเป็นกฎหมำยที่บังคับใช้
            มำเป็นเวลำนำน โดยออกเป็นพระรำชบัญญัติรำชทัณฑ์
            พ.ศ. ๒๕๖๐ มีกำรแก้ไขกฎหมำยอันมีวัตถุประสงค์เพื่อให้

            สอดคล้องกับมำตรฐำนสำกล และค�ำนึงถึงสิทธิของผู้ต้องขัง                                                 บทที่
            อย่ำงไรก็ตำม ในประเด็นกำรลงโทษขังเดี่ยวจำกเดิม                                                         ๓
            ๓ เดือน ได้ลดลงมำเป็น ๑ เดือน  นั้น คณะกรรมกำร
                                         ๕๖
            สิทธิมนุษยชนประจ�ำกติกำ ICCPR ได้มีควำมเห็นทั่วไปที่ ๒๐

            เกี่ยวกับสิทธิพลเมืองและสิทธิทำงกำรเมือง ข้อ ๗ ว่ำ
            กำรขังเดี่ยว (Solitary confinement) ที่ยำวนำนของ
            ผู้ถูกคุมตัวหรือผู้ต้องขัง อำจเป็นกำรกระท�ำต้องห้ำมตำมข้อ ๗
            ของกติกำ ICCPR นอกจำกนี้ ควรมีบทบัญญัติห้ำมกำรกักขังโดยกำรตัดขำดกำรติดต่อ (Incommunicado detention)
                                                                                                             ๕๗
            ซึ่งกำรใช้กำรขังเดี่ยวกับผู้ต้องขังจะต้องค�ำนึงถึงวัตถุประสงค์ ระยะเวลำ และเงื่อนไขในแต่ละกรณีที่ต้องพอสมควรแก่เหตุ
            และต้องไม่ใช่กรณีกำรกักขังโดยกำรตัดขำดกำรติดต่อ (Incommunicado detention) กล่ำวคือ กำรขังโดยตัดขำดกำร
            ติดต่อกับครอบครัว ทนำยควำม ปกปิดสถำนที่ควบคุมตัว อย่ำงไรก็ดี กำรขังเดี่ยวอำจเป็นกำรสุ่มเสี่ยงต่อกำรถูกละเมิด
            สิทธิมนุษยชนได้ หำกในอนำคตกรมรำชทัณฑ์จะทบทวนแก้ไขกฎหมำยเพื่อเป็นกำรคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องขังมำกยิ่งขึ้น

            อำจพิจำรณำทบทวนยกเลิกกำรลงโทษขังเดี่ยว โดยหำมำตรกำรอื่นมำทดแทน
                  ๓. กำรปล่อยชั่วครำว เป็นสิทธิของผู้ต้องหำหรือจ�ำเลยซึ่งก่อนที่ศำลจะมีค�ำพิพำกษำจะได้รับกำรสันนิษฐำนว่ำเป็น
            ผู้บริสุทธิ์ ตำมข้อ ๑๔ ของกติกำ ICCPR และข้อ ๙ วรรค ๓ ก�ำหนดให้บุคคลใดที่ถูกจับกุมหรือควบคุมตัวในข้อหำทำงอำญำจะต้อง
            มีสิทธิได้รับกำรปล่อยตัว โดยคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนประจ�ำกติกำ ICCPR ได้ให้ข้อคิดเห็นเพิ่มเติมว่ำ กำรคุมขังระหว่ำง

            กำรพิจำรณำต้องใช้ดุลพินิจพิจำรณำเฉพำะในแต่ละบุคคล ต้องมีเหตุผลและควำมจ�ำเป็น อีกทั้ง ค�ำนึงถึงพฤติกำรณ์ต่ำง ๆ
            เพื่อวัตถุประสงค์ในกำรป้องกันกำรหลบหนี กำรยุ่งเหยิงกับพยำนหลักฐำน หรือกำรกระท�ำผิดซ�้ำ ศำลต้องหำทำงเลือกอื่น





            ๕๕  ข้อมูลจำก หนังสือส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ ด่วนที่สุด ที่ สม ๐๐๐๗/๓๖๓๑ ลงวันที่ ๑๗ พฤศจิกำยน ๒๕๖๐ ถึง ประธำนกรรมกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกระบวนกำร
               ยุติธรรม เรื่อง ขอส่งข้อมูลและควำมเห็นประกอบกำรจัดท�ำแผนปฏิรูปประเทศด้ำนกระบวนกำรยุติธรรม.
            ๕๖  พระรำชบัญญัติรำชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ มำตรำ ๖๙ (๖).
            ๕๗  UN Human Rights Committee (HRC). (2017). CCPR General Comment No. 20: Article 7 (Prohibition of Torture, or Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment
               or Punishment), 10 March 1992. Retrieved from www.refworld.org/docid/453883fb0.html


                                                                                คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  | 87
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93