Page 90 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 90
บทที่ ๓ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
๒. สถำนกำรณ์กำรเสียชีวิตภำยใต้กำรควบคุมของหน่วยงำนของรัฐ และศำลได้ไต่สวนกำรตำยโดยวินิจฉัยว่ำถูกบุคคล
ท�ำให้ตำย ซึ่งกติกำ ICCPR ข้อ ๖ วรรค ๑ และข้อ ๙ วรรค ๑ ได้คุ้มครองสิทธิในเสรีภำพและควำมปลอดภัยของร่ำงกำย
สิทธิที่จะมีชีวิตต้องได้รับกำรคุ้มครองโดยกฎหมำย บุคคลจะต้องไม่ถูกท�ำให้เสียชีวิตโดยอ�ำเภอใจ กำรที่บุคคลซึ่งอยู่ในห้องขังภำยใต้
กำรควบคุมของหน่วยงำนของรัฐถูกท�ำให้ตำยโดยบุคคลไม่ทรำบชื่อ ถือว่ำเป็นกำรละเมิดสิทธิที่จะมีชีวิตและไม่ถูกท�ำให้เสียชีวิต
ตำมอ�ำเภอใจ และ กสม. ได้มีควำมเห็นว่ำ แม้กำรตรวจสอบจะยังไม่สำมำรถชี้ชัดได้ว่ำผู้ใดเป็นผู้กระท�ำให้ตำย แต่เจ้ำหน้ำที่
ที่เกี่ยวข้องกับกำรควบคุมตัวผู้ตำยละเลยต่อกำรดูแลควำมปลอดภัยให้แก่ผู้ตำยในฐำนะเป็นผู้ต้องหำตำมที่คู่มือปฏิบัติงำน
ก�ำหนด อันเป็นกำรละเลยกำรกระท�ำอันส่งผลโดยตรงที่ท�ำให้ผู้ตำยถึงแก่ควำมตำย จึงเป็นกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน
๖๔
ด้วยเหตุผลดังกล่ำว รัฐมีหน้ำที่ต้องหำตัวผู้กระท�ำผิดมำลงโทษ และก�ำหนดมำตรกำรเยียวยำครอบครัวผู้เสียชีวิต รวมถึง
มีมำตรกำรป้องกันเหตุกำรณ์เช่นนี้ในอนำคต
๓. กระบวนกำรยุติธรรมในสภำวกำรณ์ใช้กฎหมำยพิเศษ ในกรณีของกำรด�ำเนินกระบวนกำรยุติธรรม ตำมประกำศ
คณะรักษำควำมสงบแห่งชำติ ฉบับที่ ๓๗/๒๕๕๗ ฉบับที่ ๓๘/๒๕๕๗ และฉบับที่ ๕๐/๒๕๕๗ ซึ่งส่งผลให้พลเรือนต้องอยู่ใน
อ�ำนำจกำรพิจำรณำของศำลทหำร ต่อมำได้มีค�ำสั่งหัวหน้ำคณะรักษำควำมสงบแห่งชำติ ที่ ๕๕/๒๕๕๕ ให้พลเรือนที่กระท�ำ
ควำมผิดดังกล่ำวนับแต่วันที่ ๑๒ กันยำยน ๒๕๕๙ อยู่ในอ�ำนำจกำรพิจำรณำของศำลยุติธรรม ผลจำกค�ำสั่งดังกล่ำวแม้ว่ำจะ
ท�ำให้กำรกระท�ำควำมผิดหลังจำกวันที่ ๑๒ กันยำยน ๒๕๕๙ อยู่ในอ�ำนำจของศำลยุติธรรม แต่กำรกระท�ำควำมผิดก่อนวัน
ดังกล่ำว พลเรือนยังคงถูกด�ำเนินคดีในศำลทหำร ซึ่ง กสม. ได้มีควำมเห็นในกรณีกำรด�ำเนินคดีในศำลทหำรว่ำ
๖๕
กำรก�ำหนดให้น�ำพลเรือนเข้ำสู่กำรพิจำรณำของศำลทหำรขัดต่อหลักกำรพิจำรณำคดีที่เป็นธรรม เนื่องจำกกระบวนกำร
พิจำรณำในศำลทหำรมีลักษณะรวบรัดขั้นตอน เป็นเหตุให้คู่ควำมในคดีไม่สำมำรถน�ำเสนอข้อเท็จจริงเพื่อต่อสู้คดี บทที่
อย่ำงเพียงพอ เมื่อพิจำรณำเทียบเคียงกับกำรพิจำรณำในศำลยุติธรรม นอกจำกนี้ ยังขัดต่อหลักควำมเป็นอิสระ ๓
ในกำรพิจำรณำอรรถคดี ตำมกติกำ ICCPR ข้อ ๑๔ เนื่องจำกศำลทหำรอยู่ภำยใต้สังกัดกระทรวงกลำโหม และไม่ได้
แยกขำดจำกฝ่ำยบริหำร โดยตุลำกำรศำลทหำรยังคงเป็นข้ำรำชกำรภำยใต้บังคับบัญชำของรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวง
กลำโหม และกำรที่ประเทศไทยยังคงไว้ซึ่งกำรให้อ�ำนำจศำลทหำรดังกล่ำวอำจมีโอกำสเสี่ยงต่อกำรที่พลเรือนจะไม่ได้
รับกำรพิจำรณำคดีโดยเปิดเผยและเป็นธรรม อีกทั้ง ยังมีข้อสังเกตว่ำ คดีที่พลเรือนถูกกล่ำวหำว่ำกระท�ำควำมผิดตำม
ประกำศ คสช. ดังกล่ำว ที่ค้ำงพิจำรณำอยู่ในศำลทหำรโต้แย้งอ�ำนำจกำรพิจำรณำของศำลทหำร และขอยื่นโอนคดีไปยัง
ศำลยุติธรรมซึ่งเป็นศำลพลเรือน อำจมีปัญหำว่ำศำลยุติธรรมจะสำมำรถรับโอนคดีจำกศำลทหำรในกรณีดังกล่ำว
ได้หรือไม่ เพียงใด ซึ่งอำจต้องอำศัยกลไกของคณะกรรมกำรวินิจฉัยชี้ขำดอ�ำนำจหน้ำที่ระหว่ำงศำลตำมพระรำช
บัญญัติว่ำด้วยกำรวินิจฉัยชี้ขำดอ�ำนำจหน้ำที่ระหว่ำงศำล พ.ศ. ๒๕๔๒ ในกำรแก้ไขปัญหำต่อไป และคณะกรรมกำร
๖๖
สิทธิมนุษยชนประจ�ำกติกำ ICCPR ได้มีข้อสังเกตในประเด็นสิทธิที่จะได้รับกำรพิจำรณำคดีอย่ำงเป็นธรรมและศำลทหำร
รัฐภำคีควรประกันว่ำ กำรพิจำรณำคดีในศำลทหำรให้กระท�ำเป็นข้อยกเว้นเท่ำนั้น และให้ด�ำเนินไปตำมหลักเกณฑ์
ตำมข้อ ๑๔ ของกติกำ ICCPR โดยควรใช้มำตรกำรที่จ�ำเป็นเพื่อรับพิจำรณำค�ำร้องให้ถ่ำยโอนคดีจำกศำลทหำรส�ำหรับควำมผิด
ที่เกิดขึ้นก่อนวันที่ ๑๒ กันยำยน ๒๕๕๙ โดยให้ถ่ำยโอนคดีที่ยังพิจำรณำไม่เสร็จไปยังศำลพลเรือน และเปิดโอกำสให้จ�ำเลย
ที่เป็นพลเรือนในคดีที่ศำลทหำรตัดสินแล้วสำมำรถอุทธรณ์ค�ำตัดสินต่อศำลพลเรือนได้ ๖๗
๖๔ ดูรำยละเอียดเพิ่มเติมได้ที่รำยงำนกำรตรวจสอบกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ ๔๗๖/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๒๕ เมษำยน ๒๕๖๐.
๖๕ ดูรำยละเอียดเพิ่มเติมในส่วนของสถำนกำรณ์สิทธิมนุษยชน.
๖๖ ดูรำยละเอียดเพิ่มเติมได้จำกข่ำวแจกของ กสม. เรื่อง กำรด�ำเนินคดีแก่พลเรือนในศำลทหำร ลงวันที่ ๒๐ กันยำยน ๒๕๕๙ .
๖๗ The Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights. (2017). UN Treaty Body Database. Retrieved from http://tbinternet.ohchr.org
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ | 89