Page 86 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 86
บทที่ ๓ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
๓) รำยงำนผลกำรตรวจสอบที่ ๗๗๕/๒๕๖๐ กรณีกล่ำวอ้ำงว่ำบุตรชำย (อำยุ ๑๕ ปี) ถูกเจ้ำหน้ำที่ต�ำรวจกลั่นแกล้ง
กล่ำวหำและท�ำร้ำยร่ำงกำยในขณะจับกุม กสม. ได้ตรวจสอบแล้ว เห็นว่ำ ผลกำรตรวจของแพทย์พบบำดแผลลักษณะบวมช�้ำ
เป็นแนวยำวตำมร่ำงกำยของบุตรชำยผู้ร้องหลำยแห่ง ประกอบกับเมื่อถูกส่งตัวไปควบคุมที่ศูนย์แรกรับ สถำนพินิจและ
คุ้มครองเด็กและเยำวชน กรุงเทพมหำนคร เจ้ำหน้ำที่สถำนพินิจฯ ได้ตรวจสภำพร่ำงกำยก่อนรับตัวเข้ำควบคุมและบันทึก
ผลกำรตรวจระบุว่ำพบรอยช�้ำบริเวณหลัง สีข้ำง และต้นขำ จำกพยำนหลักฐำนทั้งหมดที่ตรวจสอบได้น่ำเชื่อว่ำบำดแผล
ที่ตรวจพบเกิดขึ้นในระหว่ำงที่ผู้ถูกร้องท�ำกำรจับกุมและควบคุมตัวบุตรชำยผู้ร้อง แม้จะอ้ำงว่ำผู้ร้องหลบหนีท�ำให้ต้องใช้
ก�ำลังบังคับก็ตำม แต่เมื่อน�ำร่องรอยสภำพบำดแผลที่ปรำกฏมำพิจำรณำ จึงเชื่อได้ว่ำร่องรอยบำดเจ็บที่เกิดขึ้นน่ำจะเกิดจำก
กำรใช้ก�ำลังที่เกินสมควรแก่กรณีในกำรควบคุมตัวบุตรชำยผู้ร้องเพื่อมิให้หลบหนี อันเป็นกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน
บุตรชำยผู้ร้อง
๕๐
๒. ในขั้นตอนหนึ่งของกระบวนกำรยุติธรรม ได้เกิดกรณีกำรเสียชีวิตระหว่ำงกำรควบคุมของหน่วยงำนในกระบวนกำร
ยุติธรรม เมื่อวันที่ ๓๐ สิงหำคม ๒๕๕๙ ผู้ต้องหำตำมหมำยจับศำลอำญำในคดีพิเศษที่ ๔/๒๕๕๘ ของส�ำนักคดีคุ้มครองผู้บริโภค
และสิ่งแวดล้อม ควำมผิดตำมประมวลกฎหมำยอำญำ มำตรำ ๑๕๗ ซึ่งอยู่ระหว่ำงกำรควบคุมของเจ้ำพนักงำนในห้องควบคุม
ของกรมสอบสวนคดีพิเศษ ได้ผูกคอในห้องควบคุมและได้เสียชีวิตที่โรงพยำบำล ต่อมำเมื่อวันที่ ๔ สิงหำคม ๒๕๖๐ ศำลอำญำ
ได้มีกำรไต่สวนสำเหตุกำรตำย ตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำมำตรำ ๑๔๘ และมำตรำ ๑๕๐ ซึ่งศำลวินิจฉัยเหตุ
และพฤติกำรณ์ที่ตำยคือ สืบเนื่องมำจำกกำรถูกของแข็งไม่มีคมกระแทก ตับแตก เลือดออกในช่องท้อง ร่วมกับกำรขำดอำกำศ
หำยใจจำกกำรผูกคอท�ำให้ตำย โดยยังไม่ทรำบว่ำบุคคลใดเป็นผู้กระท�ำในระหว่ำงอยู่ในควำมควบคุมของเจ้ำพนักงำนซึ่งปฏิบัติ บทที่
ตำมหน้ำที่ ๓
๕๑
๓. กระบวนกำรยุติธรรมในสภำวกำรณ์ใช้กฎหมำยพิเศษ มีประเด็นกำรด�ำเนินกระบวนกำรยุติธรรม ตำมประกำศ
คสช. ฉบับที่ ๓๗/๒๕๕๗ ฉบับที่ ๓๘/๒๕๕๗ และฉบับที่ ๕๐/๒๕๕๗ ซึ่งส่งผลให้พลเรือนต้องอยู่ในอ�ำนำจกำรพิจำรณำ
ของศำลทหำร ต่อมำได้มีค�ำสั่งหัวหน้ำ คสช. ที่ ๕๕/๒๕๕๙ ให้พลเรือนที่กระท�ำควำมผิดดังกล่ำวนับแต่วันที่ ๑๒ กันยำยน
๒๕๕๙ อยู่ในอ�ำนำจกำรพิจำรณำของศำลยุติธรรม พบว่ำ แม้จะมีค�ำสั่งฯ ที่ ๕๕/๒๕๕๙ แต่กำรด�ำเนินคดีในควำมผิดที่ได้
กระท�ำก่อนวันที่ ๑๒ กันยำยน ๒๕๕๙ ยังคงอยู่ในอ�ำนำจของศำลทหำร เช่น กรณีของนำยสุลักษณ์ ศิวรักษ์ หรือ “ส.ศิวรักษ์”
ได้ถูกกล่ำวหำว่ำกระท�ำควำมผิดตำมประมวลกฎหมำยอำญำ มำตรำ ๑๑๒ ซึ่งได้กระท�ำเมื่อวันที่ ๕ ตุลำคม ๒๕๕๗ พนักงำน
สอบสวนมีควำมเห็นสั่งฟ้องต่อศำลทหำร และขณะนี้อยู่ระหว่ำงอัยกำรศำลทหำรพิจำรณำสั่งฟ้องต่อศำลทหำร หรือ
๕๒
เมื่อวันที่ ๑๗ ตุลำคม ๒๕๖๐ กรณีอัยกำรทหำรยื่นฟ้องผู้ต้องหำ ๘ คนในคดี “พูดเพื่อเสรีภำพ” ต่อศำลทหำรมณฑล
ทหำรบกที่ ๒๓ จังหวัดขอนแก่น ในข้อหำขัดค�ำสั่งหัวหน้ำ คสช.ที่ ๓/๒๕๕๘ ชุมนุมทำงกำรเมืองตั้งแต่ ๕ คนขึ้นไป ซึ่งศำล
มีค�ำสั่งรับฟ้อง ๕๓
การประเมินสถานการณ์ ปัญหา และอุปสรรค
ในปี ๒๕๖๐ กสม. ยังคงได้รับเรื่องร้องเรียนด้ำนสิทธิในกระบวนกำรยุติธรรมโดยมีกำรกล่ำวอ้ำงว่ำเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ
กระท�ำกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนมำกกว่ำสิทธิในด้ำนอื่น ๆ แม้ว่ำรัฐได้มีควำมพยำยำมทั้งในด้ำนกฎหมำย นโยบำย
เพื่อแปลงมำสู่กำรปฏิบัติของเจ้ำหน้ำที่รัฐ เพื่อที่จะท�ำให้บุคคลทุกคนเข้ำถึงสิทธิในกระบวนกำรยุติธรรมได้อย่ำงเท่ำเทียมกัน
๕๐ ดูรำยละเอียดเพิ่มเติมได้ที่รำยงำนผลกำรตรวจสอบกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ ๗๗๕/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ กรกฎำคม ๒๕๖๐.
๕๑ ไทยพับลิก้ำ. (๒๕๖๐). ศำลวินิจฉัยกำรตำยคดี”ธวัชชัย อนุกูล” อดีตเจ้ำหน้ำที่ที่ดินจังหวัดพังงำ ระบุ”มีผู้อื่นท�ำให้เสียชีวิตในขณะถูกควบคุม”. สืบค้นจำก https://thaipublica.org/2017/08/
tawatchai-anukul-4-8-2560/
๕๒ BBC. (๒๕๖๐). เลื่อนนัดฟังค�ำสั่งฟ้อง ส.ศิวรักษ์ คดีหมิ่นพระนเรศวรฯ. สืบค้นจำก www.bbc.com/thai/thailand-42262036
๕๓ ศูนย์ทนำยควำมเพื่อสิทธิมนุษยชน. (๒๕๖๐). ศำลทหำรรับฟ้องคดี “พูดเพื่อเสรีภำพ” ศำลให้ประกันจ�ำเลย ๗ คน คนละหมื่นบำท. สืบค้นจำก www.tlhr2014.com/th/?p=5478
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ | 85