Page 85 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 85
ส�ำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยกำรพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ จึงท�ำให้ไม่มีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตำมตัว (EM) ใช้ในระบบงำน
คุมประพฤติ
๔๕
อนึ่ง ในปี ๒๕๖๐ พบว่ำ มีประเด็นสิทธิในกระบวนกำรยุติธรรมที่น่ำห่วงใย ดังนี้
๑. กสม. ได้รับค�ำร้องขอให้ตรวจสอบกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน จ�ำนวนทั้งสิ้น ๕๓๐ ค�ำร้อง ซึ่งเมื่อจ�ำแนกค�ำร้อง
ตำมประเภทของสิทธิที่เกี่ยวข้องแล้ว
พบว่ำ มีค�ำร้องที่ผู้ร้องอ้ำงว่ำถูกละเมิด
สิทธิมนุษยชนในกระบวนกำรยุติธรรม
จ�ำนวน ๑๗๔ ค�ำร้อง คิดเป็นร้อยละ
๓๒.๘๓ ของเรื่องร้องเรียนทั้งหมด
๔๖
เมื่อเทียบกับปี ๒๕๕๙ ซึ่งมีจ�ำนวน ๒๐๖
ค�ำร้อง จำก ๗๙๗ ค�ำร้อง คิดเป็นร้อยละ
๒๕.๘๕ จะเห็นได้ว่ำจ�ำนวน
๔๗
กำรร้องเรียนด้ำนสิทธิในกระบวนกำร
ยุติธรรมในปี ๒๕๖๐ มีจ�ำนวนน้อยกว่ำ
ในปี ๒๕๕๙ แต่หำกเทียบเป็นร้อยละ
ของเรื่องร้องเรียนทั้งหมด จะพบว่ำในปี
๒๕๖๐ มีจ�ำนวนร้อยละของเรื่องร้องเรียน
มำกกว่ำปี ๒๕๕๙ โดยสิทธิในกระบวนกำร
ยุติธรรมที่มีกำรร้องเรียนโดยกล่ำว
อ้ำงว่ำมีกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน
โดยเจ้ำหน้ำที่ของรัฐในกระบวนกำร
ยุติธรรม ได้แก่ สิทธิของผู้ต้องหำ
สิทธิของผู้ต้องขัง สิทธิของผู้เสียหำย สิทธิในกำรเข้ำถึงกระบวนกำรยุติธรรม และในปี ๒๕๕๙ ถึง ๒๕๖๐ ได้มีรำยงำนผลกำรตรวจสอบ
กำรละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติเกี่ยวกับสิทธิในกระบวนกำรยุติธรรมที่ส�ำคัญ ดังนี้
๑) รำยงำนผลกำรตรวจสอบที่ ๒๑๑/๒๕๕๙ กรณีกล่ำวอ้ำงว่ำเจ้ำหน้ำที่ต�ำรวจท�ำร้ำยร่ำงกำยขณะจับกุม กสม.
ได้ตรวจสอบแล้วเห็นว่ำ ในขั้นตอนกำรจับกุมและควบคุมตัวผู้ร้อง กำรที่ผู้ถูกร้องฉุดลำกผู้ร้องไปกับพื้นดินและใส่กุญแจมือ
ผู้ร้องซึ่งเป็นผู้หญิงแน่นเกินไปและเป็นระยะเวลำเกินควำมจ�ำเป็น อันไม่สอดคล้องกับประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำ
ควำมอำญำ มำตรำ ๘๖ จนผู้ร้องได้รับบำดเจ็บและเข้ำรับกำรรักษำที่โรงพยำบำลปำกช่องนำนำนั้น เป็นกำรบังคับใช้กฎหมำย
ที่ไม่เป็นไปตำมหลักกำรคุ้มครองสิทธิและเสรีภำพ จึงเป็นกำรกระท�ำที่เป็นกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน
๔๘
๒) รำยงำนผลกำรตรวจสอบที่ ๗๔๘/๒๕๖๐ กรณีกล่ำวอ้ำงว่ำเจ้ำหน้ำที่ต�ำรวจท�ำร้ำยร่ำงกำยจนได้รับบำดเจ็บสำหัส
กสม. ได้ตรวจสอบแล้ว เห็นว่ำกำรที่กลุ่มชำยฉกรรจ์ซึ่งเป็นอำสำสมัครภำยใต้กำรควบคุมดูแลของเจ้ำหน้ำที่ต�ำรวจ
ท�ำร้ำยร่ำงกำยผู้ร้องหลังจำกจับตัวได้แล้ว จนผู้ร้องได้รับบำดเจ็บสำหัสและต้องผ่ำตัดเอำม้ำมออก เป็นกำรกระท�ำที่
เกินกว่ำกรณีที่จ�ำเป็นต้องกระท�ำในกำรจับกุม กำรกระท�ำดังกล่ำวจึงเป็นกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน ๔๙
๔๕ ข้อมูลจำก หนังสือกรมคุมประพฤติ ที่ ยธ ๐๓๐๘/๑๗๒๖ ลงวันที่ ๓ สิงหำคม ๒๕๖๐ เรื่อง ข้อมูลกำรด�ำเนินกำรตำมแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ ฉบับที่ ๓.
๔๖ ระบบสำรสนเทศเพื่อกำรรวบรวมและบริกำรสำรสนเทศด้ำนสิทธิมนุษยชน .(๒๕๖๐). จ�ำนวนเรื่องร้องเรียนจ�ำแนกตำมประเภทสิทธิ ระหว่ำงวันที่ ๑ มกรำคม ๒๕๖๐ - ๒๙ พฤศจิกำยน
๒๕๖๐. สืบค้นจำก http://hris.nhrc.or.th/nhrc2015/CreateComplaint/Report_Statistic1_5.aspx#/
๔๗ ระบบสำรสนเทศเพื่อกำรรวบรวมและบริกำรสำรสนเทศด้ำนสิทธิมนุษยชน .(๒๕๖๐). จ�ำนวนเรื่องร้องเรียนจ�ำแนกตำมประเภทสิทธิ ระหว่ำงวันที่ ๑ มกรำคม ๒๕๕๙ - ๓๑ ธันวำคม ๒๕๕๙.
สืบค้นจำก http://hris.nhrc.or.th/nhrc2015/CreateComplaint/Report_Statistic1_5.aspx#/
๔๘ ดูรำยละเอียดเพิ่มเติมได้ที่รำยงำนผลกำรตรวจสอบกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ ๒๑๑/๒๕๕๙ ลงวันที่ ๒๐ ธันวำคม ๒๕๕๙.
๔๙ ดูรำยละเอียดเพิ่มเติมได้ที่รำยงำนผลกำรตรวจสอบกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ ๗๔๘/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๒๗ มิถุนำยน ๒๕๖๐.
84 | รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๐