Page 83 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 83
๑. กำรตรำพระรำชบัญญัติแผนและขั้นตอนกำรด�ำเนินกำรปฏิรูปประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยก�ำหนดให้มี
คณะกรรมกำรปฏิรูปประเทศเพื่อจัดท�ำร่ำงแผนกำรปฏิรูปด้ำนต่ำง ๆ รวมถึงด้ำนกฎหมำยและกระบวนกำรยุติธรรม
๓๘
ตำมที่ก�ำหนดในรัฐธรรมนูญในมำตรำ ๒๕๘ โดยมีขั้นตอนกำรรับฟังควำมคิดเห็นจำกหน่วยงำนของรัฐและประชำชน เมื่อ
จัดท�ำแผนเสร็จให้เสนอคณะกรรมกำรยุทธศำสตร์ชำติเพื่อพิจำรณำ และเมื่อได้รับควำมเห็นชอบจำกคณะรัฐมนตรีและ
รำยงำนต่อรัฐสภำเพื่อทรำบแล้ว ให้ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำและใช้บังคับต่อไป
คณะกรรมกำรปฏิรูปด้ำนกระบวนกำรยุติธรรมได้จัดท�ำแผนปฏิรูปด้ำนกระบวนกำรยุติธรรมประกอบด้วย ๑๐ แผน
ได้แก่ แผนที่ ๑ กำรก�ำหนดระยะเวลำด�ำเนินงำนในทุกขั้นตอนของกระบวนกำรยุติธรรมที่ชัดเจนเพื่อให้ประชำชน
ได้รับควำมยุติธรรมโดยไม่ล่ำช้ำ แผนที่ ๒ กำรสร้ำงกลไกกำรช่วยเหลือประชำชนให้เข้ำถึงกระบวนกำรยุติธรรม เช่น
กำรพัฒนำมำตรกำรเพื่อคุ้มครองสิทธิของผู้เสียหำย ผู้ต้องหำ และจ�ำเลยเพื่อให้เข้ำถึงกระบวนกำรยุติธรรมอย่ำงมี
ประสิทธิภำพ กำรจัดให้มีระบบกำรแจ้งสิทธิตำมกฎหมำยในทุกขั้นตอน กำรจัดให้มีทนำยควำมและที่ปรึกษำกฎหมำย
ที่มีประสิทธิภำพ แผนที่ ๓ กำรสร้ำงกลไกเพื่อให้มีกำรบังคับกำรตำมกฎหมำยอย่ำงเคร่งคัดเพื่อลดควำมเหลื่อมล�้ำ เช่น
กำรปฏิรูปกระบวนกำรปล่อยชั่วครำวผู้ต้องหำหรือจ�ำเลยโดยกำรใช้ระบบประเมินควำมเสี่ยง กำรพัฒนำมำตรกำร
กำรใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตำมตัว (Electronic Monitoring : EM) ให้มีประสิทธิภำพทั้งในกำรปล่อยตัวชั่วครำว
กำรกักขัง กำรคุมประพฤติ กำรก�ำหนดแนวทำงกำรท�ำงำนร่วมกันระหว่ำงหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องในกำรใช้และจัดหำ
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตำมตัว (EM) กำรปรับปรุงโทษปรับในคดีอำญำ โดยน�ำระบบโทษปรับตำมควำมสำมำรถใน
กำรช�ำระของผู้กระท�ำควำมผิด (Day Fines System) แผนที่ ๔ กำรสร้ำงกลไกเพื่อให้มีกำรบังคับกำรตำมกฎหมำย
อย่ำงเคร่งครัดเพื่อสร้ำงควำมปลอดภัยและเป็นธรรมในสังคม เช่น กำรก�ำหนดนโยบำยและมำตรกำรกำรบังคับใช้
กฎหมำยยำเสพติด กำรลดกำรกระท�ำควำมผิดซ�้ำ กำรปฏิรูประบบกำรก�ำหนดโทษอำญำที่มีควำมเหมำะสม แผนที่ ๕
กำรปรับปรุงระบบกำรสอบสวนคดีอำญำให้มีกำรตรวจสอบและถ่วงดุลระหว่ำงพนักงำนสอบสวนกับพนักงำนอัยกำร
อย่ำงเหมำะสม แผนที่ ๖ กำรก�ำหนดระยะเวลำในกำรปฏิบัติหน้ำที่ของเจ้ำหน้ำที่ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ำยให้ชัดเจนเพื่อมิให้
คดีขำดอำยุควำม แผนที่ ๗ กำรสร้ำงควำมเชื่อมั่นในกำรปฏิบัติหน้ำที่ของพนักงำนสอบสวนและพนักงำนอัยกำรในกำร
สอบสวนคดีอำญำ แผนที่ ๘ กำรปฏิรูประบบนิติวิทยำศำสตร์ แผนที่ ๙ เสริมสร้ำงและพัฒนำวัฒนธรรมขององค์กรต่ำง ๆ
ที่เกี่ยวข้องในกระบวนกำรยุติธรรม ให้มุ่งอ�ำนวยควำมยุติธรรมแก่ประชำชนโดยสะดวกและรวดเร็ว และแผนที่ ๑๐
กำรพัฒนำประสิทธิภำพของกระบวนกำรยุติธรรมเพื่อเพิ่มศักยภำพในกำรแข่งขันของประเทศ โดยขณะนี้อยู่ระหว่ำง
กำรจัดสัมมนำรับฟังควำมคิดเห็นต่อแผนดังกล่ำวจำกประชำชนและหน่วยงำนของรัฐ ๓๙
๒. กำรประกำศใช้พระรำชบัญญัติ
รำชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยยกเลิก
พระรำชบัญญัติรำชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๔๗๙
พระรำชบัญญัติฉบับใหม่นี้มีกำรก�ำหนดวิธี
ปฏิบัติต่ำง ๆ ให้สอดคล้องกับมำตรฐำนสำกล
มำกยิ่งขึ้น อำทิ กำรห้ำมใช้เครื่องพันธนำกำร
แก่ผู้ต้องขัง เว้นแต่ผู้ต้องขังมีพฤติกำรณ์
จะท�ำอันตรำยต่อชีวิตร่ำงกำยของตนเองหรือ
ผู้อื่น มีพฤติกรรมที่ส่อว่ำเป็นบุคคลวิกลจริต
มีพฤติกำรณ์ที่น่ำจะหลบหนีกำรควบคุมหรือ
๓๘ พระรำชบัญญัติแผนและขั้นตอนกำรด�ำเนินกำรปฏิรูปประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐ มำตรำ ๘ ให้จัดท�ำแผนปฏิรูปประเทศในด้ำน ดังต่อไปนี้ (๑) ด้ำนกำรเมือง (๒) ด้ำนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
(๓) ด้ำนกฎหมำย (๔) ด้ำนกระบวนกำรยุติธรรม (๕) ด้ำนกำรศึกษำ (๖) ด้ำนเศรษฐกิจ (๗) ด้ำนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม (๘) ด้ำนสำธำรณสุข (๙) ด้ำนสื่อสำรมวลชน เทคโนโลยี
สำรสนเทศ (๑๐) ด้ำนสังคม และ (๑๑) ด้ำนอื่นตำมที่คณะรัฐมนตรีก�ำหนด.
๓๙ เอกสำรประกอบกำรสัมมนำรับฟังควำมคิดเห็นแผนปฏิรูปประเทศด้ำนกระบวนกำรยุติธรรม ของคณะกรรมกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกระบวนกำรยุติธรรม เมื่อวันที่ ๒๓ พฤศจิกำยน ๒๕๖๐
ณ โรงแรมเจ้ำพระยำปำร์ค.
82 | รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๐