Page 81 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 81
๒.๒ กำรที่คณะกรรมำธิกำรวิสำมัญกิจกำรสภำนิติบัญญัติแห่งชำติมีมติให้คณะรัฐมนตรีน�ำร่ำงพระรำชบัญญัติป้องกัน
และปรำบปรำมกำรทรมำนฯ กลับไปทบทวนอีกครั้งนั้นถือว่ำเป็นกำรท�ำให้ควำมพยำยำมในกำรแก้ไขปัญหำกำรกระท�ำ
ทรมำนและกำรบังคับสูญหำยในเชิงโครงสร้ำงต้องสะดุดลง กระบวนกำรตรำกฎหมำยฉบับนี้จึงมีควำมล่ำช้ำออกไป ทั้งที่
ควำมล่ำช้ำในกำรตรำกฎหมำยดังกล่ำวเป็นข้อห่วงกังวลที่คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนประจ�ำกติกำ ICCPR น�ำเสนอต่อ
ประเทศไทยในกำรตรวจสอบรำยงำนกำรปฏิบัติงำนตำมวำระฉบับที่สองของประเทศไทยต่อกติกำ ICCPR เมื่อเดือนมีนำคม
๒๕๖๐ นอกจำกนี้ อำจไม่สอดคล้องกับแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ ฉบับที่ ๓ ที่มีข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติกำรให้ก�ำหนด
ให้กำรกระท�ำทรมำนเป็นควำมผิดอำญำภำยในปี ๒๕๖๑
ข้อเสนอแนะ
๑. คณะรัฐมนตรี และสภำนิติบัญญัติแห่งชำติ ควรเร่งด�ำเนินกำรให้สอดคล้องกับอนุสัญญำ CAT ซึ่งประเทศไทย
เป็นภำคีผ่ำนกำรตรำพระรำชบัญญัติป้องกันและปรำบปรำมกำรทรมำนฯ โดยกำรก�ำหนดให้กำรกระท�ำทรมำนและ
กำรบังคับสูญหำยเป็นควำมผิดทำงอำญำ
๒. แม้ประเทศไทยได้เข้ำเป็นภำคีอนุสัญญำ CAT และมีควำมพยำมในกำรยกร่ำงกฎหมำยภำยในให้สอดคล้อง
ด้วยกำรผนวกหลักกำรและสำระส�ำคัญของอนุสัญญำ CAT และอนุสัญญำ CPED ไว้ด้วยกันแล้วนั้น แต่รัฐบำลควรศึกษำ
ควำมเป็นไปได้ในกำรให้สัตยำบันอนุสัญญำ CPED ด้วย
๓. รัฐบำลควรจัดให้มีกลไกกำรร้องเรียนและให้มีกำรสอบสวนโดยพลัน เป็นกลำง และอย่ำงรอบด้ำนต่อข้อกล่ำวหำ
และข้อร้องเรียนเกี่ยวกับกำรทรมำนและกำรบังคับสูญหำย
๔. รัฐบำลควรประกันว่ำจะแจ้งข้อมูลที่เป็นจริงเกี่ยวกับพฤติกำรณ์ที่เกิดขึ้นจำกกำรกระท�ำทรมำน และในกรณี
กำรบังคับสูญหำยให้มีกำรชี้แจงถึงชะตำกรรมหรือที่อยู่ของผู้ตกเป็นเหยื่อ และประกันว่ำจะมีกำรแจ้งให้ญำติของพวกเขำ
ได้ทรำบควำมคืบหน้ำและผลกำรสอบสวน
๕. รัฐบำลควรพิจำรณำเพิ่มกำรอบรมให้กับเจ้ำพนักงำนผู้บังคับใช้กฎหมำยและเจ้ำหน้ำที่ทหำร เพื่อให้เกิดควำม
เคำรพอย่ำงเต็มที่ต่อสิทธิมนุษยชน รวมทั้งกำรใช้ก�ำลังอย่ำงเหมำะสม และกำรขจัดกำรทรมำนและกำรปฏิบัติที่โหดร้ำย
80 | รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๐